Page 94 - รายงานผลการดำเนินงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ชุดที่ 3 (วันที่ 26 พฤศจิกายน 2558 ถึง 25 พฤษภาคม 2564)
P. 94

๑.๒ ควรทบทวนการก�าหนดเงื่อนไขเกี่ยวกับระยะเวลา   โดยบริษัทที่ให้บริการรักษาความปลอดภัย อันจะก่อให้เกิด
                    ๓ ปี ที่ห้ามผู้ที่เคยได้รับโทษจ�าคุกโดยค�าพิพากษา  ความเสมอกันในกฎหมาย และค�านึงถึงสิทธิและเสรีภาพ
                    ถึงที่สุดให้จ�าคุกส�าหรับความผิดที่ระบุไว้ตามมาตรา   ของบุคคล รวมทั้งหารือร่วมกันเพื่อก�าหนดให้มีการ
                    ๓๔ ข. (๓) แห่งพระราชบัญญัติธุรกิจรักษา  ประเมินต้นทุนของการปฏิบัติหน้าที่ตามพระราชบัญญัตินี้
                    ความปลอดภัย พ.ศ. ๒๕๕๘ โดยพิจารณาถึง การบริหารจัดการประเภทงานของพนักงานรักษาความปลอดภัย
                    ความเหมาะสมในแต่ละฐานความผิดที่ก�าหนด ที่เป็นธรรม และจัดให้มีกระบวนการประเมินผลกระทบ
                    ระยะเวลาจ�ากัดสิทธิในการท�างานให้สอดคล้อง ของกฎหมาย (Regulatory Impact Assessment : RIA)

                    กับคุณธรรมทางกฎหมาย เพื่อมิให้ถูกจ�ากัดสิทธิ ทุก ๒ ปี ภายหลังพระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ
                    ที่ใช้ระยะเวลาที่เท่ากันในแต่ละฐานความผิด
          รายงานผลการดำาเนินงานของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ชุดที่ ๓
                ๑.๓ ควรทบทวนโดยยกเลิกการก�าหนดคุณสมบัติเรื่อง ผลส�าเร็จ/ความก้าวหน้าในการคุ้มครองสิทธิมนุษยชน
                    สัญชาติไทยของพนักงานรักษาความปลอดภัย        ส�านักงานต�ารวจแห่งชาติแจ้งว่าได้เสนอไปยังหัวหน้า
                    รับอนุญาตตามที่บัญญัติไว้ในพระราชบัญญัติ คณะรักษาความสงบแห่งชาติ ให้มีการแก้ไขปรับปรุง
                    ธุรกิจรักษาความปลอดภัย พ.ศ. ๒๕๕๘ มาตรา  กฎหมายว่าด้วยธุรกิจรักษาความปลอดภัย ซึ่งต่อมาได้มี
                    ๓๔ ก. (๑)                                ค�าสั่งหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ที่ ๖๗/๒๕๕๙
      สำ�นักง�นคณะกรรมก�รสิทธิมนุษยชนแห่งช�ติ
                                                             ลงวันที่ ๑๐ พฤศจิกายน ๒๕๕๙ เรื่อง การแก้ไขเพิ่มเติม
                ๒)  ควรออกกฎหมายโดยก�าหนดให้มาตรฐานการรักษา  กฎหมายว่าด้วยธุรกิจรักษาความปลอดภัยแล้ว โดยมีสาระ

            ความปลอดภัยและมาตรฐานหลักสูตรการรักษาความปลอดภัย  ส�าคัญที่เกี่ยวข้องกับผู้ประกอบธุรกิจรักษาความปลอดภัย
            ค�านึงถึงความส�าคัญของสิทธิมนุษยชน               และพนักงานรักษาความปลอดภัย ดังนี้


            ข้อเสนอแนะนโยบาย                                    (๑) แก้ไขคุณสมบัติของพนักงานรักษาความปลอดภัย
                ๑)  ควรก�าหนดนโยบายให้ภาคเอกชนที่ประกอบธุรกิจ  รับอนุญาต ตามมาตรา ๓๔ ก. (๓) จากเดิมต้องส�าเร็จ
            รักษาความปลอดภัยให้ความส�าคัญในเรื่องการพัฒนา การศึกษาภาคบังคับตามกฎหมายปัจจุบัน (ชั้นมัธยมศึกษา
            ทักษะหรือการฝึกอบรมพนักงานรักษาความปลอดภัย   ปีที่ ๓) เป็น “ส�าเร็จการศึกษาตามหลักสูตรการศึกษา

            ซึ่งอาจมีผลกระทบต่อสิทธิมนุษยชน เพื่อให้สอดคล้องกับ ภาคบังคับที่ใช้อยู่ในขณะที่ส�าเร็จการศึกษา”
            มาตรฐานสากล ได้แก่ แนวปฏิบัติระหว่างประเทศส�าหรับ
            การให้บริการรักษาความปลอดภัยเอกชน (International    (๒) ขยายเวลาให้ผู้ที่ประสงค์จะประกอบธุรกิจรักษา
            Code of Conduct for Private Security Service   ความปลอดภัย และผู้ที่ประสงค์จะเป็นพนักงานรักษา
            Provider : PSCs) รวมถึงการก�าหนดมาตรการเยียวยาอื่น ๆ   ความปลอดภัยรับอนุญาต ซึ่งเคยประกอบธุรกิจหรือ
            เมื่อเกิดการกระท�าที่มีการละเมิดสิทธิมนุษยชนตามหลักการ  ประกอบอาชีพในสังกัดของผู้ประกอบธุรกิจรักษาความ
            ชี้แนะเรื่องสิทธิมนุษยชนส�าหรับธุรกิจ ตามกรอบงานของ ปลอดภัยอยู่ในวันก่อนวันที่พระราชบัญญัติธุรกิจรักษา
            องค์การสหประชาชาติในการคุ้มครอง เคารพและเยียวยา  ความปลอดภัยใช้บังคับ (ก่อนวันที่ ๔ มีนาคม ๒๕๕๙)
                                                             ซึ่งยื่นค�าขอรับใบอนุญาตไม่ทันภายในก�าหนด (บริษัท

                ๒)  หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ ส�านักงานต�ารวจ ที่ประกอบธุรกิจรักษาความปลอดภัย ให้ยื่นภายในวันที่
            แห่งชาติ คณะกรรมการก�ากับธุรกิจรักษาความปลอดภัย  ๑ กรกฎาคม ๒๕๕๙ พนักงานรักษาความปลอดภัย
            องค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึก และภาคธุรกิจรักษา  ให้ยื่นภายในวันที่ ๑ มิถุนายน ๒๕๕๙) สามารถยื่นค�าขอ
            ความปลอดภัยเอกชน ควรหารือร่วมกันเพื่อให้เกิดการ  รับใบอนุญาตประกอบธุรกิจรักษาความปลอดภัยหรือ
            มีส่วนร่วมเพื่อให้กฎหมายสามารถใช้บังคับได้อย่าง  ใบอนุญาตเป็นพนักงานรักษาความปลอดภัยรับอนุญาต
            มีประสิทธิภาพ อาทิ ก�าหนดมาตรฐานการรักษาความปลอดภัย  แล้วแต่กรณี เพิ่มเติมได้ถึงวันที่ ๒๖ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๐
            และมาตรฐานหลักสูตรการรักษาความปลอดภัยกลาง  โดยเมื่อได้ยื่นค�าขอแล้วให้ประกอบธุรกิจหรือเป็นพนักงาน

            ที่ครอบคลุมเจ้าของกิจการที่จ้างพนักงานรักษาความปลอดภัย  รักษาความปลอดภัยต่อไปได้ จนกว่าจะได้รับแจ้งค�าสั่ง
            เป็นลูกจ้างโดยตรง และการให้บริการรักษาความปลอดภัย ไม่อนุญาตจากนายทะเบียน



       92
   89   90   91   92   93   94   95   96   97   98   99