Page 121 - รายงานผลการดำเนินงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ชุดที่ 3 (วันที่ 26 พฤศจิกายน 2558 ถึง 25 พฤษภาคม 2564)
P. 121
ต่อสิ่งแวดล้อม ๓ ประเด็น คือ ๑) การเข้าถึงข้อมูล สื่อสารด้านพลังงานที่ทันต่อสถานการณ์ สร้างความเข้าใจ
๒) การมีส่วนร่วมของประชาชนในการตัดสินใจ และ ด้านพลังงานที่ถูกต้องให้กับประชาชนได้เข้าถึงข้อมูล 1
๓) การเข้าถึงกระบวนการยุติธรรม ทั้งนี้ หากประเทศไทย ได้ง่ายและเท่าเทียมกัน
เข้าเป็นภาคีอนุสัญญาฉบับนี้ รัฐจะต้องตรากฎหมาย 2
ภายในให้สอดคล้องกับอนุสัญญา ซึ่งจะเป็นการแก้ไข กรณีที่ ๓ รายงานผลการตรวจสอบฯ ที่ ๖๘/๒๕๖๓
ปัญหาโครงการต่าง ๆ ของรัฐที่อาจมีผลกระทบต่อ เรื่อง สิทธิชุมชน กรณีกล่าวอ้างว่าโครงการไฟฟ้าพลังน�้า 3
สิ่งแวดล้อมในอนาคต เช่น โครงการสัมปทานปิโตรเลียม เขื่อนปากแบง อาจส่งผลกระทบต่อชุมชน
ของรัฐที่ประชาชนอ้างว่ายังขาดธรรมาภิบาล และขาด ความเป็นมา
การเข้าถึงข้อมูล รวมทั้งโครงการสร้างโรงไฟฟ้า เมื่อปี ๒๕๕๙ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว 4
(สปป. ลาว) ก�าหนดให้มีการด�าเนินโครงการไฟฟ้าพลังน�้า
(๒) คณะรัฐมนตรีควรน�าหลักการของข้อตกลงโลก เขื่อนปากแบง ก�าลังการผลิต ๙๑๒ เมกะวัตต์ บริเวณแขวง 5
(Un Global Compact : UNGC) และหลักการชี้แนะ อุดมไซ สปป.ลาว ซึ่งอยู่ห่างจากชายแดนประเทศไทย
ของสหประชาชาติว่าด้วยธุรกิจและสิทธิมนุษยชน บริเวณแก่งผาได บ้านห้วยลึก อ�าเภอเวียงแก่น จังหวัด
(United Nation Guiding Principles on Business and เชียงราย ประมาณ ๙๖ กิโลเมตร ผู้ร้องซึ่งเป็นชาวบ้าน
Human Rights : UNGPs) มาใช้กับภาคธุรกิจและสมควร ในพื้นที่บ้านห้วยลึกเห็นว่า หากมีการสร้างเขื่อนดังกล่าว
เร่งให้มีการจัดท�าแผนปฏิบัติการชาติว่าด้วยธุรกิจและ จะส่งผลกระทบต่อบ้านห้วยลึกและหมู่บ้านอื่น ๆ ตามล�าน�้า
สิทธิมนุษยชน (National Action Plan for the Business สาขาในเขตอ�าเภอเวียงแก่น และอ�าเภอเชียงของ จังหวัด
and Human Rights : NAP) เพื่อการปกป้องคุ้มครองและ เชียงราย และหากเขื่อนในสาธารณรัฐประชาชนจีนซึ่งอยู่
ป้องกันการละเมิดสิทธิมนุษยชน ตอนบนของเขื่อนปากแบงระบายน�้าลงมาปริมาณมาก
จะก่อให้เกิดปัญหาน�้าท่วมที่อยู่อาศัยและพื้นที่เกษตรกรรม
(๓) คณะรัฐมนตรีควรก�าหนดนโยบายให้สอดคล้องกับ รวมถึงอาจมีผลกระทบต่อความมั่นคงทางอาหาร นอกจากนี้
หลักการซึ่งประเทศไทยได้ให้การรับรองเป้าหมายการพัฒนา ผู้ร้องยังเห็นว่าโครงการไฟฟ้าพลังน�้าเขื่อนปากแบง
อย่างยั่งยืนแห่งสหประชาชาติ (UN Sustainable ไม่มีการจัดท�ารายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม
Development Goals ; SDGs) ในที่ประชุมสมัชชาใหญ่ และผลกระทบข้ามพรมแดน และผู้ถูกร้องในฐานะส�านัก
แห่งสหประชาชาติ (UN General Assembly) โดย เลขาธิการคณะกรรมการแม่น�้าโขงแห่งชาติไทยในขณะนั้น
เป้าหมายที่ ๗ เป็นเรื่องพลังงาน ซึ่งก�าหนดว่ารัฐบาลต้อง ไม่ได้รับฟังความคิดเห็นของประชาชนอย่างทั่วถึง และ
“สร้างหลักประกันให้ทุกคนสามารถเข้าถึงพลังงานสะอาด ประชาชนไม่ได้รับทราบข้อมูลข่าวสารและผลกระทบ ผลการดำาเนินงานของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
ในราคาที่ย่อมเยาและยั่งยืน” ที่อาจเกิดขึ้นจากโครงการดังกล่าว จึงขอให้ตรวจสอบ
(๔) คณะรัฐมนตรีควรพิจารณาจัดให้มีศูนย์ข้อมูลกลาง การด�าเนินการ
ด้านพลังงานแห่งชาติ (Thai Energy Information Hub) ประเทศไทยเป็นสมาชิกความตกลงว่าด้วยความร่วมมือ
เพื่อส่งเสริมการเข้าถึง รับรู้ และเข้าใจในบทบาทความส�าคัญ เพื่อการพัฒนาลุ่มแม่น�้าโขงอย่างยั่งยืน พ.ศ. ๒๕๓๘
และประเด็นปัญหาพลังงานของชาติอย่างครบถ้วนถูกต้อง (Mekong Agreement 1995) ซึ่งเป็นความตกลงร่วมกัน
โดยเน้นการมีส่วนร่วมของประชาชน ผู้ประกอบการ ของ ๔ ประเทศที่มีแม่น�้าโขงไหลผ่าน ได้แก่ ประเทศไทย
ด้านพลังงาน นักวิจัย นักวิชาการ ผู้ก�าหนดนโยบายด้าน สปป.ลาว ราชอาณาจักรกัมพูชา และสาธารณรัฐ
พลังงาน สื่อมวลชน เพื่อท�าหน้าที่เป็นหน่วยงานกลางด้าน สังคมนิยมเวียดนาม โดยประเทศสมาชิกได้ตกลงร่วมกัน
ข้อมูลพลังงานที่จะเก็บ รวบรวม วิเคราะห์ อย่างเป็นระบบ ที่จะใช้น�้าอย่างสมเหตุสมผลและเป็นธรรม และเน้นย�้า
มีมาตรฐานอย่างเป็นสากล และมีความเป็นอิสระในการ ถึงความตั้งใจในความร่วมมือและการส่งเสริมการพัฒนา
เผยแพร่ข้อมูล เพื่อตอบสนองความต้องการของทุกภาคส่วน ที่ยั่งยืน การใช้ การอนุรักษ์ และการจัดการทรัพยากรน�้า
ที่ต้องการใช้ข้อมูลพลังงาน ซึ่งจะเป็นกลไกส�าคัญในการ และทรัพยากรที่เกี่ยวข้องของลุ่มแม่น�้าโขงในลักษณะ
119