Page 307 - กฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้องกับคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
P. 307
แนวปฏิบัติในการจัดท าบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ ข้อ ๓ พิธีลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ ให้จัดขึ้น ณ ส านักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชน
ระหว่างคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ หรือส านักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ แห่งชาติ หรือสถานที่ซึ่งผู้มีอ านาจในการลงนามในบันทึกข้อตกลงความร่วมมือตกลงกัน แล้วแต่กรณี
กับองค์กรหรือหน่วยงานต่างๆ ให้เลขาธิการคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติหรือรองเลขาธิการคณะกรรมการสิทธิมนุษยชน
แห่งชาติที่ได้รับมอบหมาย เป็นผู้มีอ านาจในการลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ เว้นแต่กรณีที่
บันทึกข้อตกลงความร่วมมือเป็นเรื่องที่มีเนื้อหาเกี่ยวข้องกับหน้าที่และอ านาจของคณะกรรมการ
โดยที่เป็นการสมควรแก้ไขแนวปฏิบัติในการจัดท าบันทึกข้อตกลงความร่วมมือระหว่าง
คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ หรือส านักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติกับองค์กรหรือ สิทธิมนุษยชนแห่งชาติโดยแท้ และเป็นการลงนามระหว่างองค์กรหรือหน่วยงานในรูปแบบของคณะบุคคล
หน่วยงานต่างๆ ให้มีความชัดเจนและเป็นไปด้วยความเรียบร้อย สอดคล้องกับภารกิจของคณะกรรมการ ซึ่งอยู่ในสถานะเดียวกับคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ก็ให้เป็นหน้าที่และอ านาจของคณะกรรมการ
สิทธิมนุษยชนแห่งชาติและส านักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ตามที่รัฐธรรมนูญแห่ง สิทธิมนุษยชนแห่งชาติ โดยประธานกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติเป็นผู้ลงนามในบันทึกข้อตกลง
ราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ และพระราชบัญญัติคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ความร่วมมือ
พ.ศ. ๒๕๔๒ ได้ให้อ านาจไว้ คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ในคราวประชุมด้านบริหาร ครั้งที่ ๑๐/๒๕๖๐ ข้อ ๔ ในกรณีที่การลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือมิได้จัดขึ้นเป็นพิธีตามรูปแบบในข้อ ๓
เมื่อวันที่ ๑๑ เมษายน ๒๕๖๐ จึงมีมติให้ยกเลิกแนวปฏิบัติในการจัดท าบันทึกข้อตกลงความร่วมมือระหว่าง ให้เสนอบันทึกข้อตกลงความร่วมมือให้ประธานกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ เลขาธิการคณะกรรมการ
คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติหรือส านักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติกับองค์กร สิทธิมนุษยชนแห่งชาติ หรือรองเลขาธิการคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติผู้ได้รับมอบหมาย
หรือหน่วยงานต่างๆ ลงวันที่ ๖ กรกฎาคม ๒๕๕๙ และก าหนดแนวปฏิบัติในการจัดท าบันทึกข้อตกลง แล้วแต่กรณีลงนาม แล้วให้ส านักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติจัดส่งบันทึกข้อตกลง
ความร่วมมือ ดังต่อไปนี้ ความร่วมมือดังกล่าวให้องค์การหรือหน่วยงานที่ร่วมจัดท าข้อตกลงกับคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
ข้อ ๑ ในกรณีที่ประธานกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ กรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติหรือ หรือส านักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ เพื่อลงนามต่อไป
ส านักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ เห็นสมควรให้มีการจัดท าบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ ข้อ ๕ ให้ส านักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติเผยแพร่บันทึกข้อตกลงความร่วมมือ
ในเรื่องใดกับองค์กรหรือหน่วยงานใด ให้ประธานกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ กรรมการสิทธิมนุษยชน ในเว็บไซต์ และจัดเก็บในระบบฐานข้อมูลของส านักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
แห่งชาติ หรือส านักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ เสนอแนวคิด หลักการ เหตุผล รวมทั้ง
วัตถุประสงค์ให้คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติพิจารณาให้ความเห็นชอบในหลักการ ข้อ ๖ ในการด าเนินการตามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ ให้ผู้ที่เห็นสมควรให้มีการจัดท าบันทึก
การจัดท าบันทึกข้อตกลงความร่วมมือตามวรรคหนึ่ง อย่างน้อยจะต้องพิจารณาตามเกณฑ์ดังต่อไปนี้ ข้อตกลงความร่วมมือตามข้อ ๑ ร่วมกับหน่วยงานภายในส านักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
ประกอบด้วย ที่ได้รับมอบหมาย ด าเนินการตามขอบเขตของข้อตกลงความร่วมมือเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ของการจัดท า
(๑) ความสอดคล้องของหน้าที่และอ านาจ หรือยุทธศาสตร์ของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ บันทึกข้อตกลงความร่วมมือนั้น
หรือส านักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ข้อ ๗ ให้ส านักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติก าหนดกลไกในการขับเคลื่อน ก ากับ
(๒) เหตุผลความจ าเป็น หรือประโยชน์ ที่คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ หรือส านักงาน ติดตาม และประเมินผลการด าเนินการตามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือที่ได้จัดท าร่วมกับองค์กรหรือ
คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติจะได้รับ ตามหน้าที่และอ านาจในการส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชน หน่วยงานต่างๆ ในเดือนกันยายนของทุกปี โดยให้มีหน้าที่ในการพิจารณาว่าบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ
ฉบับใดที่สมควรแก้ไขเพิ่มเติมเนื้อหาหรือสมควรยกเลิก และเสนอให้คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
ข้อ ๒ ในการจัดท าบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ ให้ส านักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
ประสานองค์กรหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อร่วมกันพิจารณาเนื้อหาของข้อตกลง และจัดท าเป็นบันทึก พิจารณา
ข้อตกลงความร่วมมือ โดยต้องก าหนดระยะเวลาสิ้นสุดของบันทึกข้อตกลงความร่วมมือไว้ ทั้งนี้ ให้มีสาระส าคัญ การยกเลิกบันทึกข้อตกลงความร่วมมือตามวรรคหนึ่ง ให้พิจารณาจากหลักเกณฑ์ ดังต่อไปนี้
ตามรูปแบบที่ก าหนดไว้ท้ายแนวปฏิบัตินี้ (๑) เมื่อมิได้มีการด าเนินการตามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือติดต่อกันเป็นระยะเวลาตั้งแต่หนึ่งปีขึ้นไป
ให้ส านักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติน าบันทึกข้อตกลงความร่วมมือที่ได้ตรวจสอบ (๒) เมื่อสถานะหรือภารกิจตามหน้าที่และอ านาจขององค์กรหรือหน่วยงานเปลี่ยนแปลงไปในทาง
ความถูกต้องแล้ว เสนอให้คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติพิจารณาให้ความเห็นชอบและก าหนดเวลา ที่ไม่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของการจัดท าบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ
ในการลงนาม (๓) เมื่อครบระยะเวลาตามที่ก าหนดไว้ในบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ
(๔) เมื่อได้มีการด าเนินการตามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือเสร็จสิ้นตามวัตถุประสงค์แล้ว
(๕) เมื่อองค์กรหรือหน่วยงานที่ร่วมท าบันทึกข้อตกลงความร่วมมือขอยกเลิกโดยแจ้งเหตุอันสมควร
298