Page 305 - กฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้องกับคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
P. 305
๒.๕.๕ ข้าราชการ ต าแหน่ง นักวิชาการสิทธิมนุษยชน ในกลุ่มงานกลั่นกรองรับเรื่อง
ค ำสั่งคณะกรรมกำรสิทธิมนุษยชนแห่งชำติ ร้องเรียนและประสานการคุ้มครองสิทธิมนุษยชน กลุ่มงานมาตรฐานรายงานการคุ้มครองสิทธิมนุษยชน
ที่ ๓/๒๕๖๓ และกลุ่มงานติดตามและสารบบส านวน
เรื่อง แต่งตั้งพนักงานเจ้าหน้าที่เพื่อตรวจสอบและรวบรวมข้อเท็จจริง ๒.๕.๖ พนักงานราชการ ต าแหน่ง นิติกร นักวิชาการสิทธิมนุษยชน และเจ้าหน้าที่
๑
ในการตรวจสอบและรายงานข้อเท็จจริงที่ถูกต้องเกี่ยวกับการละเมิดสิทธิมนุษยชน สิทธิมนุษยชนในกลุ่มงานกลั่นกรองรับเรื่องร้องเรียนและประสานการคุ้มครองสิทธิมนุษยชน กลุ่มงาน
มาตรฐานรายงานการคุ้มครองสิทธิมนุษยชน และกลุ่มงานติดตามและสารบบส านวน
ตามที่คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติได้มีค าสั่ง ที่ ๓/๒๕๖๒ ลงวันที่ ๒๒ มกราคม ๒๕๖๒ ให้ประธานกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติออกบัตรประจ าตัวพนักงานเจ้าหน้าที่ให้แก่ผู้ได้รับ
เรื่อง แต่งตั้งพนักงานเจ้าหน้าที่เพื่อตรวจสอบและรวบรวมข้อเท็จจริงในการตรวจสอบและรายงาน การแต่งตั้งทั้งหมดข้างต้น
ข้อเท็จจริงที่ถูกต้องเกี่ยวกับการละเมิดสิทธิมนุษยชน นั้น ๓. หน้าที่และอ านาจ
เนื่องจากได้มีการเปลี่ยนแปลงต าแหน่งข้าราชการและพนักงานราชการซึ่งท าหน้าที่ในการตรวจสอบ ๓.๑ ตรวจสอบและรวบรวมข้อเท็จจริงในค าร้องที่ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการ
การละเมิดสิทธิมนุษยชน ดังนั้น เพื่อให้การปฏิบัติหน้าที่ของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติเป็นไป สิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
อย่างมีประสิทธิภาพและต่อเนื่อง และการปฏิบัติหน้าที่ของข้าราชการและพนักงานราชการเป็นไปตาม ๓.๒ ขอให้หน่วยงานของรัฐ ข้าราชการ พนักงาน หรือลูกจ้างของหน่วยงานดังกล่าว หรือ
ต าแหน่งที่ก าหนด อาศัยอ านาจตามความในพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยคณะกรรมการ บุคคลใดมีหนังสือชี้แจงข้อเท็จจริงหรือให้ความเห็นในการปฏิบัติงาน หรือมาให้ถ้อยค า หรือส่งวัตถุ
สิทธิมนุษยชนแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ มาตรา ๒๘ วรรคสอง มาตรา ๓๕ วรรคสาม และมาตรา ๓๗ เอกสาร หลักฐาน หรือพยานหลักฐานอื่นที่เกี่ยวข้อง
ประกอบกับมติคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ในคราวประชุมด้านบริหาร ครั้งที่ ๙/๒๕๖๓ ๓.๓ เข้าไปในเคหสถานหรือสถานที่ใด ๆ เพื่อตรวจสอบข้อเท็จจริงหรือรวบรวม
เมื่อวันที่ ๒๕ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๓ จึงมีค าสั่ง ดังนี้ พยานหลักฐานต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง ทั้งนี้ ในกรณีที่เคหสถานหรือสถานที่ที่จะเข้าไปนั้นมิได้อยู่ในความ
๑. ยกเลิกค าสั่งคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ที่ ๓/๒๕๖๒ ลงวันที่ ๒๒ มกราคม ๒๕๖๒ ครอบครองของหน่วยงานของรัฐ และเจ้าของหรือผู้ครอบครองไม่ยินยอม ให้เข้าไปได้เมื่อมีหมายค้น
เรื่อง แต่งตั้งพนักงานเจ้าหน้าที่เพื่อตรวจสอบและรวบรวมข้อเท็จจริงในการตรวจสอบและรายงาน ของศาล ในการนี้ ให้พนักงานเจ้าหน้าที่รายงานการด าเนินการดังกล่าวให้คณะกรรมการสิทธิมนุษยชน
ข้อเท็จจริงที่ถูกต้องเกี่ยวกับการละเมิดสิทธิมนุษยชน แห่งชาติทราบด้วย
๓.๔ เป็นพนักงานเจ้าหน้าที่ตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยคณะกรรมการ
๒. ให้ข้าราชการและพนักงานราชการซึ่งด ารงต าแหน่งดังต่อไปนี้เป็นพนักงานเจ้าหน้าที่ สิทธิมนุษยชนแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐
๒.๑ เลขาธิการคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ๓.๕ ร้องทุกข์หรือกล่าวโทษแทนผู้เสียหาย ในกรณีที่คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
๒.๒ รองเลขาธิการคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ เห็นว่าการละเมิดสิทธิมนุษยชนเรื่องใดเป็นความผิดอาญาและผู้เสียหายไม่อยู่ในฐานะที่จะร้องทุกข์หรือ
๒.๓ ผู้ช่วยเลขาธิการคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ กล่าวโทษด้วยตนเองได้
๒.๔ เจ้าหน้าที่ส านักคุ้มครองสิทธิมนุษยชน ประกอบด้วย ๓.๖ หน้าที่อื่น ๆ ตามที่คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติมอบหมาย
๒.๔.๑ ผู้อ านวยการส านักคุ้มครองสิทธิมนุษยชน
๒.๔.๒ ผู้อ านวยการกลุ่มงานตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชน ๑ – ๗ ทั้งนี้ ตั้งแต่บัดนี้เป็นต้นไป
๒.๔.๓ ข้าราชการ ต าแหน่ง นักวิชาการสิทธิมนุษยชน
๒.๔.๔ พนักงานราชการ ต าแหน่ง นิติกร นักวิชาการสิทธิมนุษยชน และเจ้าหน้าที่ สั่ง ณ วันที่ ๓ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๖๓
สิทธิมนุษยชน วัส ติงสมิตร
๒.๕ เจ้าหน้าที่ส านักมาตรฐานและติดตามการคุ้มครองสิทธิมนุษยชน ประกอบด้วย ประธานกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
๒.๕.๑ ผู้อ านวยการส านักมาตรฐานและติดตามการคุ้มครองสิทธิมนุษยชน
๒.๕.๒ ผู้อ านวยการกลุ่มงานกลั่นกรองรับเรื่องร้องเรียนและประสานการคุ้มครอง
สิทธิมนุษยชน
๒.๕.๓ ผู้อ านวยการกลุ่มงานมาตรฐานรายงานการคุ้มครองสิทธิมนุษยชน
๒.๕.๔ ผู้อ านวยการกลุ่มงานติดตามและสารบบส านวน
๑ ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๓๗/ตอนพิเศษ ๑๑๗ ง/หน้า ๗๓/๑๙ พฤษภาคม ๒๕๖๓
296