Page 285 - กฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้องกับคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
P. 285
(ช) จัดท ารายงานผลการปฏิบัติงานประจ าปีของส านักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ (๕) พิจารณาเสนอความเห็นในกรณีที่มีการโต้แย้งรายงานผลการพิจารณาหรือรายงาน
(ซ) จัดท าร่างรายงานประจ าปีของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติเพื่อพิจารณา ผลการตรวจสอบ
(ฌ) ร่วมปฏิบัติงานหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องหรือตามที่ (๖) ด าเนินการเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล การพัฒนารูปแบบ หลักเกณฑ์และวิธีการในการ
ได้รับมอบหมาย ตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชน
(๔) กลุ่มงานวิจัยสิทธิมนุษยชน มีหน้าที่และอ านาจ ดังนี้ (๗) ด าเนินการเกี่ยวกับงานเลขานุการการประชุมของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
(ก) ศึกษาปัญหา วิเคราะห์ สังเคราะห์ และพัฒนาองค์ความรู้ด้านสิทธิมนุษยชน ตลอดจน ด้านการคุ้มครองสิทธิมนุษยชน
การก าหนดโจทย์การศึกษาวิจัยเพื่อป้องกันหรือแก้ไขปัญหาการละเมิดสิทธิมนุษยชนเพื่อให้สอดคล้อง (๘) ร่วมปฏิบัติงานหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องหรือตามที่ได้รับ
กับแผนยุทธศาสตร์คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ รวมทั้งข้อเสนอแนะของคณะกรรมการ มอบหมาย
สิทธิมนุษยชนแห่งชาติ เพื่อการส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชน ข้อ ๑๐ ให้ส านักคุ้มครองสิทธิมนุษยชน แบ่งออกเป็น ๑ ฝ่าย ๗ กลุ่มงาน ดังนี้
(ข) จัดท าข้อเสนอโครงการศึกษาวิจัยและแผนการศึกษาวิจัยประจ าปีของส านักงาน (๑) ฝ่ายช่วยอ านวยการ มีหน้าที่และอ านาจ ดังนี้
คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ (ก) ด าเนินการเกี่ยวกับงานสารบรรณ กลั่นกรองเรื่อง งานช่วยอ านวยการ ร่างหนังสือ
(ค) ด าเนินการบริหารจัดการโครงการศึกษาวิจัยตามแผนการศึกษาวิจัยประจ าปี โต้ตอบ ย่อเรื่อง ตรวจทานหนังสือ งานระเบียบแบบแผน ช่วยวางแผนและติดตามงาน และติดต่อ
ให้มีประสิทธิภาพ นัดหมายที่เป็นภารกิจของส านักคุ้มครองสิทธิมนุษยชน
(ง) รวบรวม และประมวลข้อมูล เพื่อน าผลการศึกษาวิจัยไปขับเคลื่อนทางวิชาการและสังคม (ข) ด าเนินการเกี่ยวกับแผนงบประมาณ แผนปฏิบัติการ การพัสดุครุภัณฑ์ เก็บรักษาเอกสาร
เพื่อให้เกิดประโยชน์ในการป้องกัน และแก้ไขปัญหาการละเมิดสิทธิมนุษยชน ตลอดจนเสริมสร้าง งานรวบรวมประมวลข้อมูลสถิติในเรื่องต่าง ๆ ของส านักคุ้มครองสิทธิมนุษยชน
ความตระหนัก และพัฒนาความเข้มแข็งด้านสิทธิมนุษยชน (ค) ด าเนินการเกี่ยวกับงานเลขานุการการประชุมของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
(จ) ส่งเสริม สนับสนุน และประสานความร่วมมือแก่บุคคล หน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน ด้านการคุ้มครองสิทธิมนุษยชน
และภาคประชาสังคม ในการศึกษาวิจัยด้านสิทธิมนุษยชน หาแหล่งเงินทุนและแหล่งศึกษาวิจัยทั้งใน (ง) จัดท ารายงานผลการปฏิบัติงานการคุ้มครองสิทธิมนุษยชนอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง
และต่างประเทศ (จ) พัฒนาระบบงาน รูปแบบ หลักเกณฑ์และวิธีการในการด าเนินงานด้านการคุ้มครอง
(ฉ) ติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการศึกษาวิจัยตามแผนงานการศึกษาวิจัยประจ าปี สิทธิมนุษยชน
และแผนงานโครงการประจ าปี พร้อมทั้งจัดท ารายงานการศึกษาวิจัยและผลงานการศึกษาวิจัยประจ าปี (ฉ) จัดระบบงานทะเบียนและจัดเก็บข้อมูลเกี่ยวกับการคุ้มครองสิทธิมนุษยชนเพื่อประโยชน์
หรือตามที่ได้รับมอบหมาย ในการศึกษา วิเคราะห์ และค้นคว้า
(ช) ให้ค าปรึกษา ข้อเสนอแนะ ค าแนะน า และสนับสนุนด้านการศึกษาวิจัยด้านสิทธิมนุษยชน (ช) ร่วมปฏิบัติงานหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องหรือตามที่
(ซ) ร่วมปฏิบัติงานหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องหรือตามที่ ได้รับมอบหมาย
ได้รับมอบหมาย
(๒) กลุ่มงานตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชน ๑ ถึง ๗ มีหน้าที่และอ านาจ ดังนี้
ข้อ ๙ ส านักคุ้มครองสิทธิมนุษยชน มีขอบเขตหน้าที่และอ านาจ ดังนี้ (ก) พิจารณา เสนอความเห็น วางแผน อ านวยการ ประสานงาน ควบคุมและก ากับดูแลการ
(๑) พิจารณา เสนอความเห็น วางแผน อ านวยการ ประสานงาน ควบคุมและก ากับดูแล ด าเนินการเกี่ยวกับการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชน
การด าเนินการเกี่ยวกับการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชน (ข) ด าเนินการตามมติคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติในการส่งเรื่องต่อไปให้องค์กรอื่น
(๒) ด าเนินการตามมติคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติในการส่งเรื่องต่อไปให้องค์กรอื่น เพื่อด าเนินการแก้ไขปัญหาเรื่องร้องเรียนและติดตามผล
เพื่อด าเนินการแก้ไขปัญหาเรื่องร้องเรียนและติดตามผล (ค) ด าเนินการสืบสวนหรือตรวจสอบเกี่ยวกับเรื่องที่มีการยื่นค าร้อง หรือเรื่องที่คณะกรรมการ
(๓) ด าเนินการสืบสวน หรือตรวจสอบเกี่ยวกับเรื่องที่มีการยื่นค าร้อง หรือเรื่องที่คณะกรรมการ สิทธิมนุษยชนแห่งชาติเห็นสมควรให้มีการตรวจสอบที่มีการกล่าวอ้างว่ามีการกระท าหรือการละเลย
สิทธิมนุษยชนแห่งชาติเห็นสมควรให้มีการตรวจสอบโดยไม่ล่าช้าทั้งเชิงกรณีและเชิงระบบ เพื่อเสนอต่อ การกระท าอันเป็นการละเมิดสิทธิมนุษยชนโดยไม่ล่าช้าทั้งเชิงกรณีและเชิงระบบเพื่อเสนอต่อคณะกรรมการ
คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ สิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
(๔) จัดท าร่างรายงานผลการพิจารณาหรือร่างรายงานผลการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชน (ง) รับผิดชอบส านวนค าร้อง เสนอความเห็นในเรื่องที่ตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชน
ตามมติคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ รวมทั้งก าหนดมาตรการในการเยียวยาผู้ได้รับความเสียหาย และเสนอมาตรการการแก้ไขปัญหาการละเมิดสิทธิมนุษยชนหรือแนวทางการแก้ไขการปฏิบัติที่ไม่เป็นธรรม
จากการละเมิดสิทธิมนุษยชนต่อหน่วยงานของรัฐหรือเอกชนที่เกี่ยวข้อง เพื่อประกอบการพิจารณาของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
276