Page 289 - กฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้องกับคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
P. 289
(ค) เสริมสร้างและพัฒนาความเข้มแข็งร่วมกับองค์กรเครือข่ายด้านสิทธิมนุษยชนและ (๑) จัดท าค าชี้แจงและรายงานข้อเท็จจริงที่ถูกต้องโดยไม่ชักช้าในกรณีที่มีการรายงานสถานการณ์
การรวมกลุ่มของเครือข่ายเพื่อส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชน รวมทั้งกลไกเครือข่ายในการติดตาม เกี่ยวกับสิทธิมนุษยชนในประเทศไทยโดยไม่ถูกต้องหรือไม่เป็นธรรม เพื่อเสนอต่อคณะกรรมการ
เฝ้าระวังและตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชน สิทธิมนุษยชนแห่งชาติพิจารณา
(ง) ส่งเสริมและสนับสนุนบทบาท ภารกิจ และกิจกรรมขององค์กรเครือข่ายด้านสิทธิมนุษยชน (๒) จัดท าแผนการด าเนินการจัดท ารายงานประเมินสถานการณ์สิทธิมนุษยชนประจ าปี
(จ) ดูแลและจัดการฐานข้อมูลเครือข่ายองค์กรด้านสิทธิมนุษยชน เพื่อส่งเสริมและสนับสนุน เพื่อให้การปฏิบัติหน้าที่เป็นไปโดยไม่ชักช้า
ความร่วมมือด้านสิทธิมนุษยชน (๓) เฝ้าระวังและติดตามสถานการณ์สิทธิมนุษยชน รวมทั้งตรวจสอบข้อมูล ข้อเท็จจริง
(ฉ) ร่วมปฏิบัติงานหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องหรือตามที่ เพื่อประกอบการจัดทารายงาน
ได้รับมอบหมาย (๔) จัดท าร่างรายงานประเมินสถานการณ์สิทธิมนุษยชนประจ าปี เพื่อเสนอต่อคณะกรรมการ
(๔) กลุ่มงานสื่อสารองค์กร มีหน้าที่และอ านาจ ดังนี้ สิทธิมนุษยชนแห่งชาติพิจารณา
(ก) ด าเนินการเกี่ยวกับการสื่อสารสาธารณะเพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจและเห็นคุณค่า (๕) จัดท าร่างรายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศขึ้นเป็นการเฉพาะ
การเคารพและการปฏิบัติตามหลักสิทธิมนุษยชน เพื่อเสนอต่อคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติพิจารณา
(ข) ติดตาม ประมวล และวิเคราะห์ข่าว บทความ และข่าวสารต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับ (๖) รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับสถานการณ์สิทธิมนุษยชนอย่างเป็นระบบ
คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติและส านักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ต่อบทบาท (๗) ร่วมปฏิบัติงานหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องหรือตามที่
ภารกิจและภาพลักษณ์องค์กร ตลอดจนชี้แจงท าความเข้าใจและให้ข้อมูลแก่สื่อมวลชน ได้รับมอบหมาย
(ค) เสริมสร้างความสัมพันธ์และความเข้าใจอันดีแก่สาธารณชนในบทบาทภารกิจและ ข้อ ๑๔ ให้ส านักเฝ้าระวังและประเมินสถานการณ์สิทธิมนุษยชน แบ่งออกเป็น ๑ ฝ่าย ๓ กลุ่มงาน
กิจกรรมของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ดังนี้
(ง) พัฒนาองค์ความรู้ การปรับเปลี่ยนเจตคติ และเผยแพร่ความรู้ด้านสิทธิมนุษยชนให้แก่ (๑) ฝ่ายช่วยอ านวยการ มีหน้าที่และอ านาจ ดังนี้
หน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน ชุมชน ท้องถิ่น ภาคประชาสังคมและประชาชน ตลอดจนสื่อมวลชน (ก) ด าเนินการเกี่ยวกับงานสารบรรณ กลั่นกรองเรื่อง งานช่วยอ านวยการ ร่างหนังสือ
(จ) เผยแพร่มาตรการในการส่งเสริมและการแก้ไขปัญหาการละเมิดสิทธิมนุษยชนหรือแนวทาง โต้ตอบ ย่อเรื่อง ตรวจทานหนังสือ งานระเบียบแบบแผน ช่วยวางแผนและติดตามงาน และติดต่อ
การแก้ไขการปฏิบัติที่ไม่เป็นธรรมให้สาธารณชนทราบตามมติของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ นัดหมายที่เป็นภารกิจของส านักเฝ้าระวังและประเมินสถานการณ์สิทธิมนุษยชน
(ฉ) ผลิตสื่อรณรงค์และเผยแพร่ความรู้ด้านสิทธิมนุษยชน (ข) ด าเนินการเกี่ยวกับแผนงบประมาณ แผนปฏิบัติการ การพัสดุ ครุภัณฑ์ เก็บรักษาเอกสาร
(ช) ด าเนินการเกี่ยวกับงานโฆษกของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ รวมทั้งประสาน งานรวบรวมประมวลข้อมูลสถิติในเรื่องต่าง ๆ ของส านักเฝ้าระวังและประเมินสถานการณ์สิทธิมนุษยชน
และอ านวยความสะดวกแก่สื่อมวลชนในการเผยแพร่ข่าว การแถลงข่าว และการให้สัมภาษณ์ของ (ค) ก าหนดวาระการประชุม จัดเตรียมการประชุมและจัดท าเอกสารที่เกี่ยวข้อง จัดท าบันทึก
คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ รายงานการประชุมและรายงานอื่น ๆ รวมทั้งติดตามผลการด าเนินงานตามมติที่ประชุม
(ซ) ร่วมปฏิบัติงานหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องหรือตามที่ (ง) ด าเนินการจัดจ้างท ารูปเล่ม ออกแบบ และจัดพิมพ์รายงานผลการประเมินสถานการณ์
ได้รับมอบหมาย สิทธิมนุษยชนประจ าปี รวมทั้งด าเนินการเสนอต่อรัฐสภา คณะรัฐมนตรี และเผยแพร่ให้ประชาชน
(๕) กลุ่มงานศูนย์ศึกษาและประสานงานด้านสิทธิมนุษยชนในภูมิภาค มีหน้าที่และอ านาจ ดังนี้ ทราบเป็นการทั่วไป
(ก) ส่งเสริมและสนับสนุนให้สถาบันวิชาการในท้องถิ่นเป็นที่พึ่งของชุมชนเพื่อการส่งเสริม (จ) ร่วมปฏิบัติงานหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องหรือตามที่ได้รับ
สิทธิมนุษยชนและแก้ไขปัญหาการละเมิดสิทธิมนุษยชน มอบหมาย
(ข) ประสาน สนับสนุนและส่งเสริมการจัดกิจกรรมร่วมกับศูนย์ศึกษาและประสานงาน (๒) กลุ่มงานเฝ้าระวังและประเมินสถานการณ์สิทธิมนุษยชน ๑ มีหน้าที่และอ านาจ ดังนี้
ด้านสิทธิมนุษยชน (ก) เฝ้าระวังและติดตามสถานการณ์สิทธิมนุษยชนด้านสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง
(ค) จัดหลักสูตรเกี่ยวกับสิทธิมนุษยชนให้เหมาะสมกับบริบทของประเทศไทย และจัดท าแผนการด าเนินการจัดท ารายงานประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิดังกล่าว เพื่อให้การปฏิบัติ
(ง) ร่วมปฏิบัติงานหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องหรือตามที่ หน้าที่เป็นไปโดยไม่ชักช้า
ได้รับมอบหมาย
(ข) ตรวจสอบข้อมูล ข้อเท็จจริง เพื่อประกอบการจัดท ารายงาน
ข้อ ๑๓ ส านักเฝ้าระวังและประเมินสถานการณ์สิทธิมนุษยชน มีขอบเขตหน้าที่และอ านาจ ดังนี้ (ค) จัดท าร่างรายงานประเมินสถานการณ์สิทธิมนุษยชนประจ าปีในส่วนที่เกี่ยวข้อง
เพื่อเสนอต่อคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติพิจารณา
(ง) รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับสถานการณ์สิทธิมนุษยชนอย่างเป็นระบบ
280