Page 164 - คู่มือการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ตำรวจตามหลักสิทธิมนุษยชน
P. 164

คู่มือการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ตำารวจตามหลักสิทธิมนุษยชน




          เป็นกรณีที่พบการกระทำาผิดซึ่งหน้าอีกด้วย ซึ่งเงื่อนไขข้อนี้นับว่าเป็นปัญหา
          อยู่ไม่น้อยสำาหรับผู้ไม่เข้าใจกฎหมายมาก่อน เพราะจะไม่ทราบว่า ความผิด

          ประเภทใดบ้างที่กฎหมายระบุไว้ในบัญชีท้ายฯ และก็ไม่ทราบว่า ที่เรียกว่า
          ความผิดซึ่งหน้ามีขอบเขตและความหมายมากน้อยเพียงใด ความผิดที่ระบุ
          ไว้ในบัญชีท้ายฯ เหล่านี้ได้แก่

                          (๒.๑)  ประทุษร้ายต่อพระบรมราชตระกูล
                          (๒.๒)  ขบถภายในพระราชอาณาจักร

                          (๒.๓)  ขบถภายนอกพระราชอาณาจักร
                          (๒.๔)  ความผิดต่อทางพระราชไมตรีกับ ต่างประเทศ

                          (๒.๕)  ทำาอันตรายแก่ธงหรือเครื่องหมายของต่างประเทศ
                          (๒.๖)  ความผิดต่อเจ้าพนักงาน

                          (๒.๗)  ความผิดฐานหลบหนีจากที่คุมขัง
                          (๒.๘)  ความผิดต่อศาสนา

                          (๒.๙)  การก่อการจลาจล
                         (๒.๑๐)  กระทำาให้เกิดภยันตรายแก่สาธารณชน

                         (๒.๑๑)  ปลอมแปลงเงินตรา
                        (๒.๑๒)  ข่มขืนกระทำาชำาเรา

                        (๒.๑๓)  ประทุษร้ายแก่ชีวิต
                        (๒.๑๔)  ประทุษร้ายแก่ร่างกาย

                        (๒.๑๕)  ความผิดฐานกระทำาให้เสื่อมเสียอิสรภาพ
                         (๒.๑๖)  ลักทรัพย์

                        (๒.๑๗)  วิ่งราว ชิงทรัพย์ ปล้นทรัพย์ และโจรสลัด
                        (๒.๑๘)  กรรโชก ความผิดเหล่านี้ถือเป็นความผิดซึ่งหน้า
                                 ซึ่งราษฎรมีอำานาจจับได้โดยไม่ต้องมีหมายจับ



                                       140
   159   160   161   162   163   164   165   166   167   168   169