Page 386 - รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการศึกษาวิจัยเพื่อจัดทำข้อเสนอแนะนโยบายหรือมาตรการเพื่อคุ้มครองและส่งเสริมสิทธิของผู้สูงอายุ: กรณีการเลือกปฏิบัติในผู้สูงอายุ
P. 386
328 | รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ (Final Report)
ตารางที่ 23 ผู้ที่ผู้สูงอายุอาศัยในการเข้าใช้บริการจากภาครัฐ และภาคเอกชน
การเข้าใช้บริการของหน่วยงาน
บุคคลที่อาศัย ภาครัฐ เอกชน ภาครัฐ เอกชน
จ านวน (คน) จ านวน (คน) ร้อยละ ร้อยละ
โดยตนเอง ไม่ต้องอาศัยผู้ใด 126 42 62.69 65.63
คู่สมรส 24 6 11.94 9.38
บุตรหลาน 38 12 18.91 18.75
ญาติพี่น้อง เพื่อน 11 4 5.47 6.25
เพื่อนบ้าน 2 0 1.00 0.00
รวม 201 64 100.00 100.00
ตารางที่ 24 อุปสรรคส าคัญ 3 อันดับแรกในการเข้าใช้บริการของภาครัฐและภาคเอกชนของผู้สูงอายุ
ภาครัฐ ภาคเอกชน
1. กระบวนการ/ขั้นตอนยุ่งยาก 1. ค่าใช้จ่ายสูง
2. อคติต่อการใช้บริการ (เช่น ความกลัว) 2 อคติต่อการใช้บริการ (เช่น ความกลัว)
3. การเดินทางไม่สะดวก 3. กระบวนการ/ขั้นตอนยุ่งยาก
5.1.6 การรับรู้เกี่ยวกับสิทธิของผู้สูงอายุ
ในส่วนของการรับรู้เกี่ยวกับสิทธิของผู้สูงอายุ ได้ส ารวจความคิดเห็นของผู้สูงอายุไปตามสิทธิของ
ผู้สูงอายุ จ านวน 12 ข้อ ที่ได้ระบุไว้ใน พระราชบัญญัติผู้สูงอายุ พ.ศ. 2546 โดยจ าแนกตามการคุ้มครองสิทธิ
ของผู้สูงอายุ 3 ด้านของการวิเคราะห์ ผลของการรับรู้เกี่ยวกับสิทธิของผู้สูงอายุที่ได้รับความคุ้มครองตาม
กฎหมาย ได้แสดงไว้ในตารางที่ 25
จากตารางที่ 25 พบว่า ในการรับรู้เกี่ยวกับการคุ้มครองสิทธิด้านเศรษฐกิจและสังคม ผู้สูงอายุส่วน
ใหญ่ (ร้อยละ 50 ขึ้นไป) ในทุกกลุ่มวัยอายุ รับรู้สิทธิในการได้รับการสงเคราะห์เบี้ยยังชีพเป็นรายเดือน การ
พัฒนาตนเองและการมีส่วนร่วมในกิจกรรมสังคมและการรวมกลุ่มในลักษณะเครือข่าย การอ านวยความ
สะดวกและความปลอดภัยในอาคาร สถานที่ ยานพาหนะ และบริการสาธารณะอื่น ๆ การช่วยเหลือด้าน
ค่าโดยสารยานพาหนะ การยกเว้นค่าเข้าชมสถานที่ของรัฐ อย่างไรก็ตาม กลุ่มผู้สูงอายุวัยต้นและวัยกลาง
(ร้อยละ 50 ขึ้นไป) รับรู้หรือทราบว่ามีสิทธิ คือ การประกอบอาชีพและการฝึกอาชีพที่เหมาะสม การศึกษา
ศาสนา ข้อมูลข่าวสารที่เป็นประโยชน์ต่อการด าเนินชีวิต และการพัฒนาตนเองและการมีส่วนร่วมในกิจกรรม
สังคมและการรวมกลุ่มในลักษณะเครือข่าย