Page 69 - รายงานสรุปผลการดำเนินโครงการฝึกอบรมหลักสูตรการคุ้มครองการละเมิดสิทธิชุมชน สิทธิในที่ดิน ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม สำหรับเจ้าหน้าที่สำนักงาน กสม. ระหว่างวันที่ 19-23 สิงหาคม 2566 ณ โรงแรมกรุงศรีริเวอร์ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
P. 69

การเสียสิทธิในที่ดิน หรือการสละสิทธิในที่ดิน







   มาตรา 6 บัญญัติว่า “นับตั้งแต่วันที่ประกาศของคณะปฏิวัติฉบับนี้ใช้บังคับ บุคคลใดมีสิทธิในที่ดินตามโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการท าประโยชน์ หากบุคคล

   นั้นทอดทิ้งไม่ท าประโยชน์ในที่ดิน หรือปล่อยที่ดินให้เป็นที่รกร้างว่างเปล่า เกินก าหนดเวลาดังต่อไปนี้

   (1) ส าหรับที่ดินที่มีโฉนดที่ดิน เกินสิบปีติดต่อกัน

   (2) ส าหรับที่ดินที่มีหนังสือรับรองการท าประโยชน์ เกินห้าปีติดต่อกัน

   ให้ถือว่าเจตนาสละสิทธิในที่ดินเฉพาะส่วนที่ทอดทิ้งไม่ท าประโยชน์ หรือที่ปล่อยให้เป็นที่รกร้างว่างเปล่า เมื่ออธิบดีได้ยื่นค าร้องต่อศาล และศาลได้สั่งเพิกถอน

   หนังสือแสดงสิทธิในที่ดินดังกล่าว ให้ที่ดินนั้นตกเป็นของรัฐเพื่อด าเนินการตามประมวลกฎหมายนี้ต่อไป”


                                                                                                                  บทบัญญัติมาตรา 6 นี้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 4 มีนาคม 2515


                    คือ บุคคลที่มีสิทธิในที่ดินที่มีโฉนดที่ดิน
   สาระส าคัญ                                                                                                        การทอดทิ้งไม่ท าประโยชน์        หมายความถึง การที่บุคคลซึ่งมีสิทธิ
                    หรือบุคคลที่มีสิทธิในที่ดินที่มีหนังสือรับรองการท าประโยชน์
                                                                                                                     ในที่ดินดังกล่าว ไม่ประสงค์จะครอบครองหรือยึดถือที่ดินนั้นอีกต่อไป
                    (1) โฉนดที่ดิน เกิน 10 ปีติดต่อกัน
   การกระท าการ                                                                                                      การปล่อยที่ดินให้เป็นที่รกร้างว่างเปล่า     หมายความถึง การที่บุคคล
                    (2) หนังสือรับรองการท าประโยชน์ เกิน 5 ปีติดต่อกัน
      ประเภท        คือ ได้ทอดทิ้งไม่ท าประโยชน์ในที่ดิน                                                             ซึ่งมีสิทธิในที่ดินดังกล่าว มีความประสงค์จะครอบครองหรือยึดถือที่ดินนั้น

     ของที่ดิน      หรือปล่อยที่ดินให้เป็นที่รกร้างว่างเปล่า                                                         ต่อไป แต่ไม่ได้ท าประโยชน์ในที่ดินนั้นแต่ประการใด กลับปล่อยให้เป็น

        ผล          ถือว่าบุคคลนั้นมีเจตนาสละสิทธิในที่ดิน                                                           ที่รกร้างว่าเปล่าอยู่อย่างเดิม
                                                                                                                     ข้อสังเกต (1) ก าหนดระยะเวลาที่ถือว่าเป็นการสละสิทธิในที่ดินนั้น
      วิธีการ       อธิบดีต้องยื่นค าร้องต่อศาล เพื่อขอให้ศาลเพิกถอนหนังสือแสดงสิทธิในที่ดินดังกล่าว                                  ต้องติดต่อกันโดยไม่มีการขาดช่วงระยะเวลา


     ผลการยื่น      เมื่อศาลสั่งเพิกถอนหนังสือแสดงสิทธินั้น ที่ดินจะตกเป็นของรัฐ รัฐสามารถน าไปจัด                  (2) ต้องเป็นที่ดินที่มีโฉนดที่ดิน หรือหนังสือรับรองการท าประโยชน์เท่านั้น
      ค าร้อง       ให้แก่ประชาชนใช้เป็นที่อยู่อาศัยและท ามาหากินเลี้ยงชีพต่อไป แต่หากฟังไม่ได้ว่ามีการ             (3) ทอดทิ้งหรือปล่อยที่ดินทั้งหมดหรือเพียงบางส่วนก็ได้

                    ทอดทิ้งหรือปล่อยที่ดินศาลจะไม่ท าการเพิกถอน                                                     (4) ในระหว่างที่ยังไม่มีค าสั่งศาลถึงที่สุดให้เพิกถอนหนังสือแสดงสิทธิใน
                                                                                                                        ที่ดินนั้น ที่ดินยังหาตกเป็นของรัฐไม่                                 11
   64   65   66   67   68   69   70   71   72   73   74