Page 183 - รายงานผลการศึกษาข้อมูลนักโทษประหารชีวิต
P. 183

การเปิดเผยข้อมูล

                          การประหารชีวิตต่อสาธารณะ                                                          “ถ้าครอบครองยาเสพติดจำานวนเท่าไร

               แม้ว่าจะมีกระแสเรียกร้องว่า การประหารชีวิตไม่ได้มีการเผยแพร่ข้อมูล                          ให้ถือว่าเป็นการครอบครองเพื่อจำาหน่าย

          ให้สาธารณะรับทราบนั้น พบว่า ในอดีตเคยมีกรณีที่มีการบังคับโทษประหารชีวิต                       และบทลงโทษ คือ ตั้งแต่ ๒๐ ปี ถึงตลอดชีวิต
          ในคดียาเสพติด และมีการเชิญสื่อมวลชนมาทำาข่าวให้เห็นตั้งแต่การนำาตัวนักโทษ                และถ้าครอบครองเกินกว่าตามปริมาณที่กฎหมายกำาหนด
          ประหารชีวิต ไปจนกระทั่งถึงหน้าห้องประหาร  ซึ่งมีภาพปรากฏออกสื่ออย่างกว้างขวาง                            ให้มีโทษถึงประหารชีวิต
          หากแต่ท้ายที่สุด ผลตอบรับจากกรณีดังกล่าวทำาให้เห็นว่า เป็นการละเมิดสิทธิ                   ซึ่งบทสันนิษฐานเด็ดขาดนี้จะทำาให้ศาลต้องระวางโทษ

          นักโทษ และมีกระแสว่าการเผยแพร่ข้อมูลดังกล่าวเป็นสิ่งที่ไม่สมควรเป็นอย่างยิ่ง            ตามที่กำาหนด จะไม่พิจารณามูลเหตุจูงใจ หรือบริบทอื่นๆ”
                                                                                                                      อดีตอธิบดีกรมราชทัณฑ์ กรณีที่ ๒, สัมภาษณ์, ๑๑ มีนาคม ๒๕๖๒



                  ข้อเสนอแนวทางในการยกเลิกโทษประหารชีวิต

               ๑. ควรมีการรณรงค์ให้ความรู้เกี่ยวกับโทษของการประหารชีวิตอย่างต่อเนื่อง

          แต่ต้องพิจารณาช่วงเวลาให้เหมาะสม เนื่องจากหากมีการรณรงค์ในระหว่างที่กระแส                               อดีตอนุศาสนาจารย์
          การใช้โทษประหารชีวิตยังรุนแรงอยู่ อาจทำาให้การรับฟังเหตุผลของการรณรงค์
          การยกเลิกโทษประหารชีวิตไม่สามารถกระทำาได้                                                              เรือนจำากลางบางขวาง

               ๒. ควรมีการใช้บทลงโทษอื่นมาทดแทนโทษประหารชีวิต เช่น กรณีคดี
          ยาเสพติด อาจมีการนำาเรื่องการยึดทรัพย์มาใช้มากขึ้น ทำาให้มีการไล่ติดตามทรัพย์สิน             บทบาทของอนุศาสนาจารย์กับการดูแลผู้ต้องขัง
          ที่มาจากการกระทำาผิดซึ่งน่าจะส่งผลให้เกิดความหวาดกลัวต่อการกระทำาผิดมากกว่า
                                                                                                    อนุศาสนาจารย์ เป็นตำาแหน่งที่กำาหนดให้มีประจำาเรือนจำาทุกเรือนจำา โดยมี
               ๓. ควรยกเลิกบทสันนิษฐานเด็ดขาด หรือการปรับบทลงโทษให้กว้างขึ้น และ               หน้าที่ในการอบรม ให้ความรู้ด้านศาสนาให้กับผู้ต้องขัง  ซึ่งส่วนใหญ่อนุศาสนาจารย์
          สามารถพิจารณาจากพฤติการณ์ บทบาทในการกระทำาผิดได้ กล่าวคือ บทสันนิษฐาน                เป็นผู้นับถือศาสนาพุทธ เนื่องจากผู้ต้องขังส่วนมากนับถือศาสนาพุทธ

          เด็ดขาดเป็นการกำาหนดปริมาณยาและกำาหนดโทษ ซึ่งในการพิพากษาลงโทษนั้น                        กิจกรรมที่อนุศาสนาจารย์จัดให้กับผู้ต้องขังจะพบว่า ทุกวันจันทร์มีการนิมนต์
          ศาลต้องดำาเนินการตามที่กำาหนดไว้ โดยไม่จำาเป็นต้องพิจารณาถึงมูลเหตุจูงใจ             พระสงฆ์มาเทศน์  ทุกวันศุกร์จัดให้โต๊ะอิหม่ามหรือผู้ต้องขังที่มีความรู้ทางศาสนาจัด
          หรือบริบทอื่นๆ
                                                                                               กิจกรรมทางศาสนาร่วมกันที่ศาลาปฏิบัติธรรม  ส่วนศาสนาคริสต์จะมีบาทหลวง
                                                                                               จัดพิธีสารภาพบาปทุกๆ เดือน  ส่วนกิจกรรมในแต่ละวันจะมีการบรรยายก่อนเคารพ
                                                                                               ธงชาติประมาณ ๕ นาที มีเสียงตามสายในการสวดมนต์ไหว้พระก่อนนอน





          180                                    รายงานผลการศึกษาข้อมูลนักโทษประหารชีวิต       รายงานผลการศึกษาข้อมูลนักโทษประหารชีวิต                   181
   178   179   180   181   182   183   184   185   186   187   188