Page 176 - รายงานผลการศึกษาข้อมูลนักโทษประหารชีวิต
P. 176

ต่อจากนั้นพบว่า  มีการประหารชีวิตผู้หญิงขึ้น ซึ่งทำาให้มีการกล่าวถึงโทษ         เป็นการยกเลิกการประหารชีวิตอย่างหนึ่ง  ดังนั้น จึงไม่อาจกล่าวได้ว่า หากยกเลิก

          ประหารชีวิตอีกครั้ง แต่ยังไม่มีการกล่าวกันอย่างจริงจัง เนื่องจากเรื่องโทษ            โทษประหารชีวิตแล้ว ความคิดเรื่องเจ้าชีวิตจะหมดไปนั้น ไม่เกี่ยวข้องกัน และตัวอย่าง
          ประหารชีวิตยังเป็นเรื่องของคนกลุ่มน้อย (minority) เนื่องด้วยเมื่อมีการกล่าวถึง       ก็แสดงให้เห็นได้ว่า สามารถยกเลิกโทษประหารชีวิตได้ โดยการแก้ไขกฎหมาย  ซึ่งที่
          เมื่อใดกระแสสังคมจะไม่เห็นด้วย  ซึ่งส่วนใหญ่ประชาชนประมาณ ๘๐-๙๐% จะ                  ผ่านมาการแก้ไขกฎหมายนี้เป็นผลมาจากแรงกดดันจากต่างประเทศ
          คัดค้านการยกเลิกโทษประหารชีวิตมาโดยตลอด อย่างไรก็ตาม สำานักงานคณะกรรมการ

          สิทธิมนุษยชนแห่งชาติ รวมถึงกรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพได้มีข้อเสนอให้มีการ
          ยกเลิกโทษประหารชีวิตอย่างจริงจังขึ้น และต่อมาก็ได้มีการบรรจุประเด็นดังกล่าว                      การยอมรับผิดของนักโทษประหารชีวิต
          เข้าในแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ ๒ และฉบับที่ ๓ อย่างเป็นทางการ                      กรมราชทัณฑ์เคยมีการสำารวจความคิดเห็นผู้ต้องขังว่าตนเองกระทำาผิดจริง

                                                                                               หรือไม่ พบว่า มีผู้ต้องขังจำานวนมากที่บอกว่าตนเองไม่ได้กระทำาผิด แต่ต้องโทษจำาคุก
                                                                                               ทั้งนี้ เมื่อได้มีการศึกษาให้ลึกลงไป พบว่าการกระทำาผิดนั้น มีกรณีที่กระทำาผิดเพราะว่า
                       พระราชอำานาจของพระมหากษัตริย์                                           เข้าใจกฎหมายผิด เช่น กรณีคดียาเสพติด ที่เดินทางไปกับผู้ค้ายาเสพติดและถูกล่อซื้อ
                               กับโทษประหารชีวิต                                               และจับกุมพร้อมกัน  ซึ่งผู้ต้องขังเข้าใจว่าตนเองไม่ได้กระทำาผิด ไม่ได้รู้เรื่องอะไร

                                                                                               ด้วยเลยแต่ก็ถูกจับและถูกจำาคุก ลักษณะนี้เป็นการบอกว่าตนเองไม่ได้กระทำาผิด
               พระราชอำานาจในการยกโทษเป็นของพระมหากษัตริย์ แต่การจะลงโทษเป็น                   เป็นเพราะไม่เข้าใจข้อกฎหมายในเรื่องนี้ดีพอ  ขณะเดียวกันในส่วนที่คิดว่าตนเองไม่ได้
          เรื่องที่กฎหมายกำาหนดขึ้นมา ซึ่งแม้ว่าจะไม่มีโทษประหารชีวิตนั้น พระราชอำานาจ         กระทำาผิด หรือถูกใส่ร้าย ก็ยังมีอยู่บ้าง
          ของพระมหากษัตริย์ในการยกโทษยังคงมีอยู่ในเรื่องของโทษจำาคุก
                                                                                                    แต่ในกรณีที่มีคำาพิพากษาตัดสินลงโทษประหารชีวิต แล้วบอกว่าตนเองไม่ได้
               ทั้งนี้การมองว่าการใช้พระราชอำานาจในการยกโทษ เป็นเรื่องเดียวกับความ             กระทำาผิดเลยจริงๆ นั้น อาจจะมีแต่น้อยมาก เนื่องจากคดีส่วนใหญ่ที่ลงโทษประหาร
          เป็นเจ้าชีวิตของพระมหากษัตริย์นั้น  มองในอีกแง่หนึ่ง คือ มีทั้งดีและไม่ดี กล่าวคือ   ชีวิตต้องปรากฏพยานหลักฐานที่ประจักษ์ชัดจริงๆ  อย่างไรก็ตาม ในบางกรณีที่
          พระมหากษัตริย์เป็นทั้งผู้ให้และผู้ลงโทษด้วย คือ มีทั้งบวกและลบ  ไม่ได้หมายความว่า    กระทำาผิดแต่มีเรื่องแรงจูงใจ  ซึ่งประเด็นดังกล่าวขึ้นอยู่กับศาลว่าจะมีการพิจารณา
          การเป็นเจ้าชีวิต คือ สิ่งที่ดี  ซึ่งแม้ว่าจะยกเลิกโทษประหารชีวิตไปแล้ว แต่พระราชอำานาจ  ไปถึงแรงจูงใจมากน้อยเพียงใด หรือจะพิจารณาเฉพาะความรุนแรงแห่งคดี ทั้งนี้

          ในการยกโทษยังคงมีอยู่ ไม่ได้มีการยกเลิกแต่อย่างใด                                    ส่วนใหญ่แล้ว การกระทำาผิดในคดีที่มีบทลงโทษจำาคุกตั้งแต่ ๒๐ ปีขึ้นไปจนถึงจำาคุก
               การยกเลิกโทษประหารชีวิตอยู่ที่การออกแบบระบบ เช่น การเปลี่ยนโทษประหาร            ตลอดชีวิตนั้น  ศาลต้องพิจารณาพฤติกรรมแห่งคดี ซึ่งศาลพยายามออกมาเป็น
          ชีวิตให้เป็นโทษจำาคุกตลอดชีวิต โดยไม่มีการลดโทษ ซึ่งแม้ว่าจะมีการอภัยโทษก็ตาม        แนวปฏิบัติเดียวกัน เพื่อไม่ให้คดีลักลั่น เพราะฉะนั้น การพิจารณาคดีโดยไปดูเรื่อง

          ขึ้นอยู่กับว่า มีการออกพระราชกฤษฎีกามาเช่นไร จะเห็นได้ว่าพระราชกฤษฎีกาอภัยโทษ        แรงจูงใจ ซึ่งแต่ละคดีไม่เหมือนกัน อาจจะขาดมาตรฐานที่ทำาให้ศาลต้องถูกตั้ง
          ในช่วงหลังที่ออกมา มีการจำากัดสิทธินักโทษบางประเภทมากขึ้น เช่น ไม่ครอบคลุมถึง        คำาถามขึ้นมาได้ ตัวอย่างเช่น  ในการให้ประกันตัวผู้กระทำาผิดคดียาเสพติดในระหว่าง
          นักโทษคดีข่มขืน หรือนักโทษคดียาเสพติดร้ายแรงที่มีโทษจำาคุกเกิน ๘ ปี                  ดำาเนินคดีตามหลักที่ให้มีการควบคุมคนไว้ในเรือนจำาต้องทำาให้น้อยที่สุด  การให้

               นอกจากนี้แล้ว ประเทศไทยถือว่าได้มีการยกเลิกโทษประหารชีวิตมาแล้วในบาง            สิทธิประกันตัวและสิทธิในการต่อสู้คดี แต่เมื่อมีการให้ประกันตัวศาลอาจต้องถูก
                                         ่
          ประเภทของคดี เช่น คดีที่ผู้กระทำาผิดอายุตำากว่า ๑๘ ปี ไม่มีการประหาร  ซึ่งถือได้ว่า   ตั้งกรรมการสอบสวน

          174                                    รายงานผลการศึกษาข้อมูลนักโทษประหารชีวิต       รายงานผลการศึกษาข้อมูลนักโทษประหารชีวิต                   175
   171   172   173   174   175   176   177   178   179   180   181