Page 130 - รายงานผลการศึกษาข้อมูลนักโทษประหารชีวิต
P. 130
ความคิด/ความรูสึก/การจัดการเมื่อทราบวาตองโทษประหารชีวิต
่ ้
้
เมื่อได้รับฟังคำาพิพากษาตัดสินลงโทษประหารชีวิต นักโทษประหาร
ชาย กรณีที่ ๑๐ หาทางออกให้กับตนเองไม่ได้ ส่วนหนึ่งเพราะ
เป็นห่วงแม่เนื่องจากแม่อยู่คนเดียว
“ตอนนั้นมืดไปหมด
วางแผนไม่ถูก แม่อยู่คนเดียว”
นักโทษประหารชาย กรณีที่ ๑๐, สัมภาษณ์, ๑๘ ธันวาคม ๒๕๖๑
และในทุกวันนี้เขายังเชื่อว่า การประหารชีวิตสามารถเกิดขึ้นกับเขา
เมื่อใดก็ได้ หากเขายังคงได้รับโทษประหารชีวิตอยู่
“คิดว่ายังไงก็ประหารได้ทุกเมื่อถ้ายังอยู่ในโทษนี้อยู่”
นักโทษประหารชาย กรณีที่ ๑๐, สัมภาษณ์, ๑๘ ธันวาคม ๒๕๖๑ กรณีที่ ๑
ในช่วงแรกที่จำาคุกนักโทษประหารชาย กรณีที่ ๑๐ ไม่ยอมให้แม่มาเยี่ยม ขอมูลคดี
้
เพราะความเป็นห่วงแม่ แต่ปัจจุบันแม่ของเขาก็ได้มาเยี่ยมเขาเป็นระยะๆ
ทุกๆ ๒ เดือน นักโทษประหารหญิง กรณีที่ ๑ เป็นนักโทษประหารชีวิตในคดีความผิด
ต่อชีวิต โดยเป็นนักโทษเด็ดขาดจนกระทั่งปัจจุบัน นับเป็นระยะเวลา ๖ ปี
ในระหว่างจำาคุก นักโทษประหารชาย กรณีที่ ๑๐ ก็ได้ศึกษาคอร์ส
การเขียนกับอาจารย์ท่านหนึ่งที่มาสอนในเรือนจำา ซึ่งเขาได้นำาความรู้ ส่วนคู่คดีของนักโทษประหารหญิง กรณีที่ ๑ มีจำานวน ๒ คน ได้แก่
มาต่อยอด และเขียนเรียงความส่งประกวดจนได้รับรางวัล ๑) มือปืน ได้รับโทษจำาคุกตลอดชีวิต และ
๒) คนจัดหามือปืน (น้องเขย) ได้รับโทษจำาคุกตลอดชีวิต
หากไดรับการอภัยโทษ และไดรับการปลอยตัวออกจากเรือนจำา พฤติการณแหงคดี
่
้
้
์ ่
นักโทษประหารชาย กรณีที่ ๑๐ ต้องการออกไปทำางานเขียนหนังสือ นักโทษประหารหญิง กรณีที่ ๑ แต่งงานอยู่กินกับสามี (ผู้ตาย)
อย่างที่เขาชอบ รวมทั้งอาจเปิดร้านอาหารเพื่อสร้างอาชีพและ มาเป็นระยะเวลา ๑๒ ปี มีอาชีพ (ก่อนต้องโทษ) ค้าขายโดยการเปิดร้าน
รายได้ให้แก่ตัวเขาเองต่อไปได้ ขายของ และทำาสวน สามีมีพฤติกรรมเจ้าชู้ ติดผู้หญิง และมีการทำาร้าย
ร่างกายบ้างในระหว่างที่ใช้ชีวิตครอบครัวร่วมกัน ทั้งสองมีบุตรด้วยกัน
128 รายงานผลการศึกษาข้อมูลนักโทษประหารชีวิต รายงานผลการศึกษาข้อมูลนักโทษประหารชีวิต 129