Page 7 - คู่มือการจัดการเรียนรู้สิทธิมนุษยชนศึกษา : ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
P. 7

คูมือการจัดการเรียนรูสิทธิมนุษยชนศึกษา • ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย



              ทั้งการเคารพในศักดิ์ศรีความเปนมนุษย การเชื่อมั่นในความเทาเทียมของบุคคล โดยปราศจากการแบงแยก
              การศรัทธาในสิทธิและเสรีภาพของบุคคล และการปฏิบัติตอผูอื่นในฐานะที่เปนเพื่อนมนุษยเชนเดียวกัน

              โดยยืนอยูบนธรรมชาติของความแตกตางหลากหลายนั้นแทจริงไมใชแนวคิดตะวันตกที่ไกลตัว หากแต
              หลักการตาง ๆ ที่ปรากฏในปฏิญญาสากลวาดวยสิทธิมนุษยชน ลวนแตสอดคลองกับคานิยมอันดีงาม
              ของสังคมไทย อาทิ ความเมตตา กรุณา ความมีนํ้าใจ การแบงปน ความปรองดอง เหลานี้เปนสวนหนึ่ง
              ที่เราพบเจอในวิถีชีวิตประจําวันทั้งสิ้น

                     โดยทายที่สุด คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติและภาคีเครือขายมุงหวังวา คูมือการจัดการ
              เรียนรูสิทธิมนุษยชนศึกษาเลมนี้ จะทําใหผูเกี่ยวของทั้งครูผูสอนและผูเรียนเกิดความรู ความเขาใจ ทักษะ
              ทัศนคติดานสิทธิมนุษยชนติดตัว สามารถบูรณาการสิทธิมนุษยชนใหเขาไปปรากฏอยูในวิถีปฏิบัติ
              ประจําวันทั้งภายในหองเรียนและนอกหองเรียน นําไปปรับประยุกตใหเหมาะสมกับบริบทในครอบครัว

              โรงเรียน ชุมชน และสังคม เพื่อนําไปสูการสรางวัฒนธรรมการเคารพสิทธิมนุษยชนในสังคมไทยไดอยางมั่นคง
              ยั่งยืนสืบไป
































              6
   2   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12