Page 10 - คู่มือการจัดการเรียนรู้สิทธิมนุษยชนศึกษา : ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
P. 10
คูมือการจัดการเรียนรูสิทธิมนุษยชนศึกษา • ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
แนวทางการนําคูมือการจัดการเรียนรูสิทธิมนุษยชนศึกษาไปใช
คูมือการจัดการเรียนรูสิทธิมนุษยชนศึกษาในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.4 – 6) เลมนี้
จัดทําขึ้นเพื่อเปนแนวทางการสําหรับครูผูสอนกลุมสาระการเรียนรูสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
รวมทั้งครูผูสอนทั่วไปที่ใชมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัด หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พุทธศักราช 2551 เปนแกนในการจัดกิจกรรมการเรียนรู เพื่อใหผูเรียนมีประสบการณและความรูความเขาใจ
เกี่ยวกับสิทธิมนุษยชน ทั้งนี้ชุดกิจกรรมในคูมือการเรียนการสอนดานสิทธิมนุษยชน ระดับชั้นมัธยมศึกษา
ตอนปลาย เปนการหยิบยกประเด็นตัวอยางนาสนใจที่สอดคลองกับสถานการณดานสิทธิมนุษยชนในปจจุบัน
อันเปนสิทธิขั้นพื้นฐานที่มนุษยทุกคนไดรับอยางเสมอภาคกันเพื่อใหสามารถดํารงชีวิตไดอยางสันติสุข
มีศักดิ์ศรี มีเสรีภาพ มีไมตรีจิต และมีความเมตตาตอกัน โดยไมคํานึงถึงความแตกตางในเรื่องเชื้อชาติ
สีผิว เพศ อายุ ภาษา ศาสนา สถานภาพทางกาย หรือสุขภาพ สิทธิมนุษยชนยังมีความสําคัญในแงของ
การเปนหลักประกันของความเปนมนุษย สิทธิและเสรีภาพ สําหรับการจัดการเรียนรูเรื่องสิทธิมนุษยชนนั้น
จะตองเปนการเอื้อใหผูเรียน ไดพัฒนาความรู ทัศนคติ มุมมอง รวมถึงการพัฒนาทักษะในการอยูรวมกัน
ทามกลางความหลากหลายและเคารพสิทธิของผูอื่น จึงเปนการจัดการเรียนรูเกี่ยวกับ (About)
สิทธิมนุษยชน ในบรรยากาศการเรียนรูและกระบวนการ (Through) ที่สรางวัฒนธรรมสิทธิมนุษยชน
เชน การที่ทุกคนไดแสดงความคิดเห็นและฟงความคิดเห็นที่แตกตางมีสวนรวมในกระบวนการตัดสินใจ
และนําไปสู (For) การใชสิทธิและเรียกรองสิทธิเพื่อตนเองและคนในสังคมโลกได มาตรฐานการเรียนรูและ
ตัวชี้วัดที่เกี่ยวของกับสิทธิมนุษยชนและใชเปนแกนในการออกแบบกิจกรรมการเรียนรู มีดังนี้
ส 2.1 ม.4-6/4 ประเมินสถานการณสิทธิมนุษยชนในประเทศไทย และเสนอแนวทางพัฒนา
ส 2.1 ม.4-6/5 วิเคราะหความจําเปนที่ตองมีการปรับปรุงเปลี่ยนแปลง และเลือกรับ
วัฒนธรรมสากล
ส 2.2 ม.4-6/1 วิเคราะหและปฏิบัติตามกฎหมายที่เกี่ยวของกับตนเอง ครอบครัว ชุมชน
ประเทศชาติ และสังคมโลก
9