Page 6 - คู่มือการจัดการเรียนรู้สิทธิมนุษยชนศึกษา : ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
P. 6
คูมือการจัดการเรียนรูสิทธิมนุษยชนศึกษา • ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
ทั่วไปตระหนักถึงสิทธิมนุษยชนของแตละบุคคลที่ทัดเทียมกัน และการเคารพในสิทธิมนุษยชนของบุคคลอื่น
ซึ่งอาจแตกตางกันในทางวัฒนธรรม ประเพณี วิถีชีวิต และศาสนา
ทั้งนี้ คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติในฐานะสถาบันดานสิทธิมนุษยชนระดับชาติตามที่กลาว
มาไดเล็งเห็นวา การจะสงเสริมสิทธิมนุษยชนศึกษาใหงอกงามยั่งยืนนั้น จะตองเรงใหเกิดแนวทางอยางเปน
ระบบในการสรางเสริมสิทธิมนุษยชนในสถานศึกษาทั่วประเทศ โดยการรวมมือกับกระทรวงศึกษาธิการ
ซึ่งกํากับดูแลสถานศึกษาในสังกัดกวา 30,000 แหง มีบุคลากรทางการศึกษา กวา 400,000 คน ซึ่งทําหนาที่
สนับสนุนและใหการศึกษาขั้นพื้นฐานแกเด็กนักเรียนในประเทศกวา 7,000,000 คน ดังนั้น คณะกรรมการ
สิทธิมนุษยชนแหงชาติ โดยสํานักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติจึงไดจัดทําบันทึกขอตกลง
ความรวมมือการสงเสริมดานสิทธิมนุษยชนกับกระทรวงศึกษาธิการ เพื่อรวมกันพัฒนาคูมือการจัดการ
เรียนรูสิทธิมนุษยชนศึกษา เพื่อใชเปนแนวทางในการจัดการเรียนรูเพื่อพัฒนาคุณภาพผูเรียน
จากความมุงหมายดังกลาว ทําใหเกิดการรวมมือกันของภาคีเครือขายอันประกอบดวย คณะทํางาน
ดานสงเสริมการเคารพสิทธิมนุษยชน ผูชํานาญการ ตลอดทั้งผูทรงคุณวุฒิดานสิทธิมนุษยชนศึกษาใน
คณะกรรมการสิทธิมนุษยชน คณะครู อาจารย และบุคลากรทางการศึกษาจากกระทรวงศึกษาธิการ อาจารย
จากสถาบันสิทธิมนุษยชนและสันติศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล และบุคลากรจาก มูลนิธิฟรีดริช เนามัน
ประเทศไทย รวมกันดําเนินการจัดทําคูมือการจัดการเรียนรูสิทธิมนุษยชนศึกษา ไดใชเปนแนวทาง
ในการจัดการเรียนรูเพื่อพัฒนาคุณภาพผูเรียนดานสิทธิมนุษยชน โดยยึดโยงกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษา
ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ในกลุมสาระการเรียนรูสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ระดับประถมศึกษา
ตอนตนและตอนปลาย ไปจนถึงระดับมัธยมศึกษาตอนตนและตอนปลาย รวมถึงการปลูกฝงเกี่ยวกับ
สิทธิมนุษยชนแทรกไปในการจัดกิจกรรมการเรียนรูในหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2560
โดยกระบวนการจัดทําประกอบดวยการประชุมรวมกันเพื่อระดมความคิดเห็น การจัดทํา ตลอดจนการ
นําเสนอ มีการนําไปปรับปรุง แกไขในภายหลัง อีกทั้งยังมีการประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อรับฟงขอคิดเห็น
ขอเสนอแนะตอรางเอกสารดังกลาว จากคณะครู อาจารย ทั้งในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล เพื่อให
เอกสารผานการมีสวนรวมจากทุกฝายที่เกี่ยวของและเกิดความสมบูรณมากที่สุด
โดยหวังวาจะทําใหเด็กเยาวชนซึ่งเปนอนาคตและพลังที่จะขับเคลื่อนประเทศในภายภาคหนา
ไดเกิดการเรียนรูสิทธิมนุษยชนอยางมีสวนรวม มีความรู ความเขาใจและตระหนักวาหลักการสิทธิมนุษยชน
5