Page 60 - คู่มือการจัดการเรียนรู้สิทธิมนุษยชนศึกษา : ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
P. 60

คูมือการจัดการเรียนรูสิทธิมนุษยชนศึกษา • ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย



              ขอเสนอแนะ

                     1.   หากจํานวนผูเรียนมีนอยกวา 40 คนสามารถลดจํานวนคําในขั้นนํา และจํานวนสมาชิกในกลุม
              นั้นสามารถยืดหยุนไดแตใหจํานวนกลุมเปนจํานวนคูเพื่อใหเกิดการเปรียบเทียบตัวสื่อ

                     2.   ผูสอนใหผูเรียนแสดงความคิดเห็นในประเด็นความเหมาะสมหรือไมเหมาะสมของสื่ออยางเสรี
              และอาจถามคําถามหรือสรุปความเพื่อใหผูเรียนรวมชั้นคนอื่นเขาใจไดงายขึ้น



              อภิธานศัพท

                     1.   สื่อ หมายถึง ตัวกลางที่ชวยในการถายทอดเรื่องราว ขาวสาร ความรู เหตุการณ แนวคิด
              สถานการณ ฯลฯ ที่ผูสงสารตองการไปยังผูรับสาร

                     2.   สิทธิ หมายถึง อํานาจที่กฎหมายรับรองใหกระทําการใด ๆ โดยสุจริตไดอยางอิสระ แตตองไม
              กระทบกระเทือนถึงสิทธิของคนอื่น

                     3.   เสรีภาพ หมายถึง ความสามารถที่จะกระทําการใด ๆ ไดตามที่ตนปรารถนาโดยไมมีอุปสรรค
              ขัดขวาง เชน เสรีภาพในการพูด เสรีภาพในการนับถือศาสนา, ความมีสิทธิที่จะทําจะพูดไดโดยไมละเมิดสิทธิ

              ของผูอื่น



              ความรูสําหรับครู
                     เสรีภาพสื่อ - วันที่ 3 พฤษภาคม พ.ศ. 2534 องคการยูเนสโก (UNESCO) ไดเสนอใหสมัชชาใหญ

              แหงองคการสหประชาชาติ (UN) ประกาศใหวันที่ 3 พฤษภาคมของทุกปเปน “วันเสรีภาพสื่อมวลชนโลก”
              (World Press Freedom Day) เพื่อยํ้าเจตนารมณและหลักการที่เปนพื้นฐานของเสรีภาพสื่อมวลชนทั่วโลก

              คือเสรีภาพในการคิดและการแสดงออก เปดโอกาสใหสื่อมวลชนไดเสนอขอเท็จจริงโดยเสรี และปลอดภัย
              ถึงแมการเฉลิมฉลองวันเสรีภาพสื่อมวลชนโลกเพิ่งเริ่มตนเมื่อป 2534 แตเสรีภาพในการแสดงออก







                                                                                             59
   55   56   57   58   59   60   61   62   63   64   65