Page 28 - งานเชิดชูเกียรติผู้หญิงนักปกป้องสิทธิมนุษยชนวันสตรีสากล 2561
P. 28
กระบวนการต่อสู้ของชาวบ้านเริ่มต้นด้วยการรณรงค์ให้ความรู้เรื่องผลกระ
ทบจากโรงไฟฟ้าถ่านหิน รวมไปถึงความไม่โปร่งใสในการผลักดันโครงการดังกล่าว
โดยมีนักวิชาการท้องถิ่นให้การสนับสนุนในการท�าวิจัยผลกระทบที่จะเกิดกับชุมชน
จึงท�าให้มีสมาชิกเพิ่มขึ้นจ�านวนมากในการคัดค้านโรงไฟฟ้าถ่านหิน
อย่างไรก็ดีในระหว่างความพยายามปกป้องสิทธิชุมชน และทรัพยากร
ท้องถิ่น ได้เกิดความขัดแย้งภายในหมู่บ้าน มีคนบางกลุ่มในหมู่บ้านสนับสนุนการ
สร้างโรงไฟฟ้า เพราะคิดเพียงว่าถ้ามีการสร้างโรงงาน พวกเขาก็จะมีงานท�าและ
อาจไปเป็นลูกจ้างในโรงงานได้
ในการคัดค้านโรงไฟฟ้า “ผู้หญิง” มีบทบาทส�าคัญอย่างมากในการรณรงค์
เพื่อให้ความรู้ และผลกระทบที่จะเกิดขึ้นจากการสร้างโรงไฟฟ้า โดยผู้หญิงจะ
เข้าร่วมประชุมที่จะจัดขึ้นทุกเดือน การเข้าอบรมรับข้อมูลข่าวสาร และ การเชื่อม
ประสานงานกับเครือข่ายอื่นๆ การยื่นหนังสือร้องเรียน รวมไปถึงการร่วมชุมนุม
เพื่อปกป้องสิทธิของคนในพื้นที่ด้วยความกล้าหาญ การเผชิญหน้ากับอ�านาจรัฐ ท�าให้
ผู้คัดค้านโครงการนี้ หลายคนตกเป็นเป้าของผู้มีอ�านาจในพื้นที่ รวมถึง “รอกีเย๊ำะ”
หญิงชาวบ้านชาวปากบาง
“มลพิษทำงอำกำศที่จะเกิดขึ้น สำรพิษ และทะเล ที่เป็นเหมือนตู้กับข้ำว
ของเรำย่อมที่จะได้รับผลกระทบอย่ำงหลีกเลี่ยงไม่ได้ ปลำในทะเลจะปนเปื้อน
โลหะหนัก และถ้ำรับสำรพิษเข้ำร่ำงกำยไปนำนๆ จะมีควำมเสี่ยงที่จะเป็นโรคมะเร็ง
และโรคเรื้อรังอื่นๆ และถ้ำมีกำรสร้ำงโรงไฟฟ้ำเกิดขึ้น จะมีชำวบ้ำนกว่ำ 1,000 คน
ต้องย้ำยออกจำกพื้นที่ รวมถึงประมงพื้นบ้ำนที่มีเรือกว่ำ 300 ล�ำก็จะล่มสลำย”
รอกีเย๊าะ สะมะแอ ผู้หญิงนักปกป้องสิทธิมนุษยชนและตัวแทนกลุ่มชาวบ้านบอก
เล่าถึงสาเหตุที่ชาวปากบางร่วมกันคัดค้านโรงไฟฟ้าเทพา
ในวันหนึ่งที่ปลัดอ�าเภอเทพา ไปพบเธอถึงบ้าน ในนามของผู้ว่าราชการ
จังหวัด พร้อมสอบถามถึงเหตุผลที่คัดค้านโครงการสร้างโรงไฟฟ้า รอกีเย๊าะ เล่าว่า
“ลูกๆ ญำติๆ ก็เตือน แต่หัวใจของเรำมันด้ำนไปแล้ว ไม่กลัวอะไรแล้ว ใจมันมำ
ของมันเอง ไม่มีอะไรที่ต้องกลัว ง่ำยๆ ก็คือ ของๆเรำ เรำก็หวง เรำต้องต่อสู้ปกป้อง
สิทธิของเรำ เพื่อบ้ำนเกิดให้ลูกหลำนเรำ”
27