Page 161 - รายงานผลการปฏิบัติงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560
P. 161
๗.๒ การจัดตั้งหอจดหมายเหตุสิทธิมนุษยชน
๗.๒.๑ การศึกษา/รวบรวมข้อมูลเพื่อจัดท�าหมวดหมู่และตารางก�าหนดอายุการเก็บรักษาเอกสารของส�านักงาน
คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
๗.๒.๒ การจัดท�าหมวดหมู่และตารางก�าหนดอายุการเก็บเอกสารของส�านักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชน
แห่งชาติ และการด�าเนินงานหอจดหมายเหตุสิทธิมนุษยชน
๗.๓ ศูนย์สารสนเทศสิทธิมนุษยชน
ส�านักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติได้
มีพิธีเปิด “ศูนย์สารสนเทศสิทธิมนุษยชน” อย่างเป็นทางการ
เมื่อวันที่ ๔ กันยายน ๒๕๖๐ ภายใต้แนวคิด “สานสร้าง”
หรือ “Sync.Space” (Synchronizing Space) สานความรู้
สานเครือข่าย สร้างคน สร้างสิทธิมนุษยชน ห้องสมุดเฉพาะ
ด้านสิทธิมนุษยชนแห่งแรกของประเทศไทย เพื่อเป็นแหล่ง
รวบรวมความรู้และข้อมูลด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย
และต่างประเทศ โดยเฉพาะการสื่อสารเกี่ยวกับสถานการณ์ด้าน
สิทธิมนุษยชนในประเทศไทย รวมทั้งการน�าเสนอผลงานส�าคัญ
ของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติต่อสาธารณชนอย่าง
ถูกต้องและทั่วถึง ที่เปิดให้บริการแก่ประชาชนทุกเพศ ทุกวัย
ให้สามารถมาใช้บริการศึกษาความรู้ สืบค้นข้อมูลความรู้ต่าง ๆ ได้โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย ทั้งนี้ ในปีงบประมาณ ๒๕๖๐
ศูนย์สารสนเทศสิทธิมนุษยชนมีผู้เข้าใช้บริการ รวมทั้งสิ้น ๓,๑๔๔ คน จ�าแนกเป็น บุคลากรของส�านักงานคณะกรรมการ
สิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ร้อยละ ๕๙ (๑,๘๔๐ คน) คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติและผู้บริหาร ร้อยละ ๑๖ (๕๑๘ คน)
และบุคคลทั่วไป คิดเป็นร้อยละ ๑๖ (๕๐๐ คน) เฉลี่ยมีผู้เข้าใช้บริการ ๑๓ คน/วัน มีการยืมทรัพยากรสารสนเทศ จ�านวน
๘,๑๔๐ รายการ และให้บริการตอบค�าถามและช่วยการค้นคว้า จ�านวน ๙๗๓ ครั้ง
160 | รายงานผลการปฏิบัติงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ประจ�าปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๐