Page 323 - รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการศึกษาวิจัยแผนกลยุทธ์ด้านธุรกิจและสิทธิมนุษยชนของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ พ.ศ. 2560-2562
P. 323
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report)
แผนกลยุทธ์ด้านธุรกิจและสิทธิมนุษยชนของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ พ.ศ. 2560-2562
กลยุทธ์ที่ 17: การขยายช่องทางการติดต่อเพื่อให้เกิด - ตรวจสอบปัญหาการเข้าถึง กสม. ที่เกิดขึ้น โดยช่องทางที่มี
การเข้าถึง กสม. ได้สะดวกมากขึ้น อยู่เดิม
- พัฒนาช่องทางใหม่ๆ ในการเข้าถึง กสม.
กลยุทธ์ที่ 3: การตรวจสอบประเด็นปัญหาสิทธิ - ท าการคัดเลือกประเด็นปัญหาที่คาดว่าจะมีความส าคัญใน
มนุษยชนเฉพาะเรื่องจากภาครัฐหรือรัฐวิสาหกิจ (เช่น อนาคต
โครงการขนาดใหญ่ การแย่งชิงฐานทรัพยากร การ - มีการประเมินผลการด าเนินงานของภาครัฐ
ท าลายสิ่งแวดล้อม) การตรวจสอบผลการด าเนินงาน - มีการตรวจสอบกลไกการตรวจสอบของภาครัฐ
ของภาครัฐ (เช่น ภาครัฐมีกลไกการคุ้มครองและ
เยียวยาในทางปฏิบัติเป็นอย่างไร) และการตรวจสอบ
กลไกการตรวจสอบของภาครัฐ (เช่น หน่วยงาน
ควบคุมรัฐวิสาหกิจว่ามีการด าเนินงานอย่างไร)
แผนคุ้มครองและเยียวยา กลยุทธ์ที่ 6: การให้ข้อเสนอเชิงนโยบาย หรือปรับปรุง - จัดประชุมเพื่อระบุประเด็นปัญหาด้านกฎระเบียบ
กฎหมาย
กฎหมาย กฎระเบียบในการคุ้มครองสิทธิมนุษยชน
- ผลักดันแนวทางการแก้ไขปัญหากับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
สิทธิมนุษยชนที่เกี่ยวข้องกับภาคธุรกิจ (เช่น การให้มี
กฎหมาย Anti SLAPP การให้มีการคุ้มครองผู้พิทักษ์
สิทธิมนุษยชนหรือผู้ให้ข้อมูล (whistle blower) และ
การสนับสนุนให้ท า RIA)
กลยุทธ์ที่ 11: การเฝ้าระวังปัญหาเฉพาะเรื่องจาก - ท าการคัดเลือกประเด็นปัญหาที่คาดว่าจะมีความส าคัญใน
ภาคเอกชน (เช่น เกษตรพันธสัญญา การค้ามนุษย์ อนาคต
แย่งชิงฐานทรัพยากร การท าลายสิ่งแวดล้อม การ - เข้าไปมีส่วนร่วมในการตรวจสอบปัญหาเฉพาะเรื่องในเชิง
ลงทุนของธุรกิจไทยในต่างประเทศที่ละเมิดสิทธิ ลึก
มนุษยชน) - สนับสนุนมาตรฐานสากลเพื่อแก้ไขปัญหาประเด็นเฉพาะ
เรื่อง
5-77