Page 116 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง ปัญหาเยาวชนหญิงที่ตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควรกับมิติสิทธิมนุษยชน
P. 116
ญ : เพื่อนหนูเวลาเค้ามีอะไรกับแฟน เค้าก็ไปฉีดยาคุม เค้าบอกว่าคุมได้ ๓ เดือน ให้หนู
ไปคุมถ้ามีอะไรกับแฟนแล้ว หนูก็ลองไปฉีด
ถาม : แล้วไปฉีดที่ไหน
ญ : ฉีดที่ศูนย์.......
ถาม : แล้วเค้าถามอะไรเรามั้ย
ญ : เค้าก็มองหน้า แต่เค้าไม่ได้ถามอะไร
ถาม : เค้าก็ฉีดให้ แล้วต้องเสียค่าบริการอะไรมั้ย
ญ : ไม่เสียค่ะ แบบหนูมีบัตรที่นั่นอยู่แล้ว
ถาม : ใช้บัตรทองได้
ญ : ค่ะ
๓.๑.๒ ชุดประสบการณ์ของเยาวชนหญิงตั้งครรภ์ไม่พร้อม
ที่ดำารงครรภ์
จากการสัมภาษณ์เยาวชนหญิงอายุย่าง ๑๘ ปี แต่งงานแล้วมีลูกชาย ๑ คน (อายุ ๑ ขวบ ๗
เดือน) เรียนจบมัธยมศึกษาปีที่ ๓ ท�างานร้านถ่ายเอกสารแห่งหนึ่งในมหาวิทยาลัย เธอเล่าให้
นักวิจัยฟังว่าท้องตอนเรียน ปวช.ปี ๑ เนื่องจากลืมทานยาคุมก�าเนิด ท�าให้ไม่กล้าไปเรียนต่อ
เพราะอายที่ให้เพื่อนที่โรงเรียนรู้ว่าท้องในวัยเรียน จากประสบการณ์ครั้งนั้นเธอได้ย�้าเตือนตนเองให้
ทานยาคุมก�าเนิดทุกวันด้วยการเก็บยาไว้ในกระเป๋าสตางค์และไปจดลงในปฏิทิน จากการบอกเล่าท�าให้
ทราบว่าทางสถานศึกษาได้ให้ค�าแนะน�าในเรื่องคุมก�าเนิดกับนักเรียนที่มีคู่รักด้วยการฉีดยาคุมก�าเนิด
เพื่อป้องกันการลืมทานยาหากใช้วิธีทาน ยาคุมก�าเนิด และได้แนะน�าการป้องกันด้วยวิธีอื่นๆ ด้วย
โดยผู้แนะน�าเป็นครูสอนวิชาสุขศึกษาและนักศึกษาที่มาท�ากิจกรรมและสอนเรื่องเพศศึกษา แต่สิ่ง
ที่ยังขาดหายไปในเรื่องการให้ข้อมูลของสถานศึกษาคือหากนักเรียนหรือนักศึกษาท้องไม่พร้อมใน
วัยเรียนควรจะท�าอย่างไร
ญ : แต่ฉีดยาหนู หนูกลัวเข็ม หนูเลยไม่กล้าฉีด
ถาม : อ๋อ! หนูเลยเลือกที่จะ กิน กินยาคุมเอา แต่กินแล้วมันลืมได้
ส�ำนักงำนคณะกรรมกำรสิทธิมนุษยชนแห่งชำติ // 115