Page 17 - การเข้าเป็นภาคีอนุสัญญาองค์การแรงงานระหว่างประเทศ ฉบับที่ 87 ว่าด้วยเสรีภาพในการสมาคมและการคุ้มครองสิทธิในการรวมตัว และฉบับที่ 98 ว่าด้วยสิทธิในการรวมตัว และการร่วมเจรจาต่อรอง และการอนุวัติกฎหมายภายใน
P. 17
พ.ศ. .... โดยได้ปรับปรุงเนื้อหาจากกฎหมายปัจจุบันให้สอดคล้อง
กับอนุสัญญา ILO ฉบับที่ ๘๗ และฉบับที่ ๙๘ มากขึ้น
อย่างไรก็ตาม เมื่อเปรียบเทียบกับหลักการอนุสัญญา ILO
ทั้งสองฉบับ พบว่ามีบางประเด็นที่ยังไม่สอดคล้องกัน ดังนี้
ตารางที่ ๑
เปรียบเทียบหลักการของอนุสัญญาองค์การแรงงานระหว่างประเทศ ฉบับที่ ๘๗ และ
ฉบับที่ ๙๘ กับ ร่างพระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ์ พ.ศ. ....
และร่างพระราชบัญญัติแรงงานรัฐวิสาหกิจสัมพันธ์ พ.ศ. ....
หลักการ
ประเด็น ของอนุสัญญาองค์การ ร่าง พ.ร.บ. ร่าง พ.ร.บ. แรงงาน
แรงงานระหว่าง แรงงานสัมพันธ์ รัฐวิสาหกิจสัมพันธ์
ประเทศ ฉบับที่ ๘๗ พ.ศ. .... พ.ศ. ....
และฉบับที่ ๙๘
๑. ผู้มีสิทธิ อนุสัญญา ฉบับที่ ๘๗ -ใช้บทนิยามคำาว่า -
จัดตั้ง ข้อ ๒ “ลูกจ้าง หมายความว่า
สหภาพแรงงาน คนทำางานและนายจ้าง ผู้ซึ่งตกลงทำางานให้แก่
และกรรมการ มีสิทธิจัดตั้งและเข้าร่วม นายจ้างเพื่อรับค่าจ้าง”
สหภาพแรงงาน ในองค์กรที่ตนเลือก ทำาให้ผู้ประกอบอาชีพ
โดยไม่ต้องได้รับ อิสระ ผู้รับงานไปทำา
อนุญาตล่วงหน้า ที่บ้าน ไม่อาจตั้ง
สหภาพแรงงาน
๒. หลักเกณฑ์ อนุสัญญา ฉบับที่ ๘๗ มีบทบัญญัติที่ให้ มีบทบัญญัติที่ให้
การจัดตั้ง ข้อ ๓ เจ้าหน้าที่ของรัฐ เจ้าหน้าที่ของรัฐ
สหภาพแรงงาน เจ้าหน้าที่ของรัฐต้อง แทรกแซงองค์กรของ แทรกแซงองค์กรของ
และฉบับที่ ๙๘ ว่าด้วยสิทธิในการรวมตัวและการร่วมเจรจาต่อรอง และการอนุวัติกฎหมายภายใน 15
การเข้าเป็นภาคีอนุสัญญาองค์การแรงงานระหว่างประเทศ ฉบับที่ ๘๗ ว่าด้วยเสรีภาพในการสมาคมและการคุ้มครองสิทธิในการรวมตัว