Page 72 - สิทธิในชีวิต
P. 72

จึงไม่ควรมีอายุการทำางานนานเป็นพิเศษกว่าคณาจารย์ประจำาหรือบุคลากรประเภทอื่น
          ของมหาวิทยาลัย
                ม�ตร� 36 เนื่องจากระดับคณะไม่มีสภาคณาจารย์คณะกรรมการบริหาร
          จึงควรมีสัดส่วนผู้แทนคณาจารย์ประจำาคณะที่มากเพียงพอเพื่อป้องกันมิให้การบริหาร
          ถูกรวมศูนย์จนขาดการแนะนำา ท้วงติงหรือขาดการมีส่วนร่วมของคณาจารย์ จากทุกคณะ

          ซึ่งถ้าเกิดขึ้นเป็นเวลานานก็จะส่งผลให้องค์กรมีความอ่อนแอ ขาดความเป็นธรรม
          และขาดความสามัคคี


          ท�งออกของมห�วิทย�ลัยของรัฐ
                ใครอยากออกจากระบบราชการก็ควรออกไปแต่ตัวไปสู่ที่ชอบๆ เช่นไปทำางาน
          รับใช้มหาวิทยาลัยต่างชาติ สมัครทำางานกับมหาวิทยาลัยเอกชน หรือ หาเงิน ระดม
          ทุน ตั้งมหาวิทยาลัยกันเอง แต่ อย่าเอามหาวิทยาลัยซึ่งเป็นสมบัติของชาติออกไปด้วย
          ควรจะแยกคณะสาขาวิชาที่ลงทุนสูงออกไปแล้วคิดค่าเล่าเรียนตามต้นทุนที่แท้จริง
          เช่นด้านวิทยาศาสตร์ ด้านเทคโนโลยี่ ด้านการแพทย์ หรือ ด้านวิศวกรรม ซึ่งผลิต

          บุคคลากรไปป้อนภาคธุรกิจ หรือ ออกไปทางานต่างประเทศ โดยใช้เงินภาษีอากร
          ของประชาชนทั้งประเทศนั้นไม่เป็นการยุติธรรม
                นักศึกษาที่ต้องการทุนโดยไม่ต้องใช้คืนก็ให้ทำาสัญญาผูกมัดว่าเมื่อจบแล้ว
          ต้องทำางานราชการ หรือ องค์กรการกุศล หรือ องค์การเอ็นจีโอ เป็นเวลา 2 เท่า
          ของระยะเวลาการเรียนเหมือนข้อบังคับเดิม เช่น นักศึกษาแพทย์ที่จบแล้วต้องรับ
          ราชการใช้คืนทุนก่อน
                แยกผู้บริหารด้านวิชาการ ออกจากผู้บริหารด้านทั่วไปโดยการจ้างนักบริหาร

          มืออาชีพเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหาร หรือ มีประสบการณ์มาก่อน แบบเดียว
          กับในอเมริกา
                เพิ่มเงินเดือนอาจารย์มหาวิทยาลัยในอัตราเดียวกับอัยการ หรือ ผู้พิพากษา
          โดยไม่ต้องออกนอกระบบ เพราะว่าเมื่อออกนอกระบบแล้ว รัฐจะแทรกแซงกำาหนด
          ทิศทางหรือนโยบายไม่ได้ เหมือนกับรัฐวิสาหกิจที่ถูกแปรรรูปออกไปแล้ว เช่น ปตท.
          ซึ่งไม่ได้ทำาหน้าที่คานอำานาจบริษัทต่างชาติในการกำาหนดราคาน้ำามันที่ยุติธรรม
          เหมาะสมอีกต่อไป รถไฟฟ้า รถใต้ดิน หรือ ค่าทางด่วน ก็เป็นลักษณะเดียวกัน





                                                                 สิทธิในชีวิต
                                                                            65
   67   68   69   70   71   72   73   74   75   76   77