Page 151 - รายงานโครงการศึกษา เรื่อง การจัดทำตัวชี้วัดสิทธิมนุษยชนเบื้องต้นตามปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน
P. 151
150
รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง
การจัดทำาตัวชี้วัดสิทธิมนุษยชนเบื้องต้นตามปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน
ตัวชี้วัดที่ ๔.๗ ก�รปลอดจ�กก�รแทรกแซงโดยไม่ชอบธรรมในก�รชุมนุมท�งก�รเมือง (UDHR-4.7)
ตัวชี้วัดโครงสร้าง (A/a) ตัวชี้วัดกระบวนการ (B/b) ตัวชี้วัดผลลัพธ์ (C/c) คำาอธิบาย
ตัวชี้วัดหลัก (A) ตัวชี้วัดหลัก (B) ตัวชี้วัดหลัก (C) การปลอดจากการแทรกแซง
๑. มีการรับรองเสรีภาพในการ ๑. มีการฝึกอบรมเจ้าหน้าที่ ๑. ข้อมูล/เหตุการณ์รายงาน โดยไม่ชอบธรรมในการชุมนุม
จัดการชุมนุม และเข้าร่วม บังคับใช้กฎหมายเพื่อรักษา ของสื่อมวลชน หรือ NGOs ทางการเมือง
ชุมนุมไว้ในรัฐธรรมนูญ ความสงบเรียบร้อย หรือ ที่แสดงถึง การข่มขู่ หรือ
โดยการจำากัดเสรีภาพจะ การสลายฝูงชนให้ปฏิบัติตาม คุกคามต่อผู้จัดการชุมนุม
ทำาได้จะต้องเป็นไปตาม มาตรฐานระหว่างประเทศ ทางการเมือง หรือผู้เข้าร่วม
หลักการจำากัดสิทธิเสรีภาพ ๒. มีกลไกที่พิจารณาทบทวน การชุมนุม
ที่ชอบธรรม คำาสั่ง/ประกาศสถานการณ์ ๒. ข้อมูล เหตุการณ์ การประกาศ
๒. การเป็นภาคี ICCPR ฉุกเฉินที่เป็นการจำากัดเสรีภาพ สถานการณ์ฉุกเฉิน/กฎหมาย
ในการชุมนุมโดยสันติ (ศาล ความมั่นคงโดยฝ่ายบริหาร
ปกครอง ศาลรัฐธรรมนูญ ที่มีขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์
คณะกรรมการสิทธิ ฯ เพื่อห้ามการชุมนุม
ผู้ตรวจการแผ่นดิน)
ตัวชี้วัดรอง (a) ตัวชี้วัดรอง (b) ตัวชี้วัดรอง (c)
๓. มีกฎหมายกำาหนดให้การข่มขู่ ๓. ข้อมูล/เหตุการณ์ที่มีการ
คุกคามการชุมนุมที่ชอบโดย ปะทะกันระหว่างกลุ่มผู้ชุมนุม
กฎหมายเป็นความผิดอาญา ทางการเมือง/ผู้ประท้วง
ต่างกลุ่ม (“ม๊อบชนม๊อบ”)
๔. ข้อมูล เหตุการณ์ จำานวน
คดีที่บุคคลถูกคุกคาม ข่มขู่
ผู้ที่จัดการชุมนุมทางการเมือง
หรือเข้าร่วมการชุมนุม