Page 32 - เสียงจากชุมชน : ข้อกังวลเกี่ยวกับเขตเศรษฐกิจพิเศษทวายและโครงการที่เกี่ยวข้อง
P. 32
ชื่อหมู่บ้าน การสูญเสียที่ดิน การสูญเสียทรัพยากรธรรมชาติอื่น ๆ ผลกระทบอื่น ๆ
หมู่บ้าน ที่ทํากินถูกทําลาย แม่นํ้าและลําธารเสียหายอย่าง แล้วจะเหลืออะไรให้เรากิน?
ปินธาดอว์ มาก ปริมาณสัตว์นํ้าลดลง ป่าไม้ถูก
ทําลาย สูญเสียต้นไม้ ผลไม้ และ
พืชพรรณต่าง ๆ ที่เคยหาได้จาก
หมู่บ้าน ชาวบ้านสูญเสียที่ทํากิน ต้นไม้ ผลไม้ และพืชพรรณที่ไม่เคย
ตะบิวชอง จําเป็นต้องซื้อถูกทําลาย แม่นํ้าลําธาร
ลดขนาดลง และป่าไม้เสื่อมโทรม
นํ้าในแม่นํ้ามีสารปนเปื้อน แม่นํ้า
ตื้นเขินขึ้น ริมฝั่งแม่ถูกนํ้ากัดเซาะ
และพันธุ์สัตว์นํ้าต่าง ๆ หายไป
หมู่บ้านเยโปต์ ที่ดินที่พวกเราสามารถเพาะปลูกได้ ป่าไม้ถูกทําลายมากขึ้น นํ้าปนเปื้อน การหายใจเต็มไปด้วยฝุ่นละออง เกิด
ลดลง มลพิษและไม่สามารถดื่มได้ มลพิษทางเสียงมากขึ้น เกิดดินถล่ม
หมู่บ้านกาโลนท่า สูญเสียพื้นที่ทําการเกษตรเนื่องจาก ดินไหลลงสู่ลําธาร ทําให้พวกเราไม่ ผลกระทบเชิงลบจากท่าเรือนํ้าลึกเกิด
โครงการ ที่นาและสวนถูกยึดเอาไป สามารถจับปลาได้อีกต่อไป นํ้าดื่ม ขึ้นตั้งแต่เดือนมิถุนายน 2553 คนรวย
สร้างถนน ป่าฟาลาห์** ซึ่งเป็นแหล่ง ไม่ได้ ริมฝั่งแม่นํ้าถูกกัดเซาะและพัง เข้ามากว้านซื้อที่ดินในหมู่บ้าน พวกเขา
รายได้สําคัญของชาวบ้านในแต่ละปี ทลายลงในบางพื้นที่ รู้เรื่องโครงการก่อนชาวบ้านอย่างพวก
(90 ล้านจั๊ต [หรือ 270,000 บาท] ต่อ เรา เราไม่รู้ว่าคนพวกนี้มีวัตถุประสงค์
เอเคอร์ต่อปี) ถูกตัดทําลาย อะไร ตอนนี้ที่ดินในพื้นที่ขาดแคลน เกิด
ความขัดแย้งและความตึงเครียดจาก
**พืชตระกูลผลไม้เปลือก การแข่งขันแย่งชิงที่ดิน บางคนที่สูญ
แข็งท้องถิ่นชนิดหนึ่ง มีรสเผ็ด ใช้ เสียที่ดินกลายเป็นคนไร้อาชีพการ
สำาหรับเคี้ยวเล่นและประกอบอาหาร งาน
ผลการศึกษาเชิงปริมาณแสดงให้เห็นว่า 25 เปอร์เซ็นต์ ดําเนินงานของโครงการในขั้นต้น
ของครัวเรือนทั้งหมดประสบปัญหาในการเข้าถึงแหล่งนํ้า ครัวเรือนที่ประสบความยากลําบากระบุถึง
ปัญหาดังกล่าวเกิดขึ้นในหมู่บ้านพื้นที่สูงมากกว่าและ ปัญหาต่าง ๆ เช่น ปัญหาที่พบมากที่สุด คือ นํ้าเปลี่ยนสีห
บ่อยครั้งกว่าหมู่บ้านในพื้นที่ราบ ในหมู่บ้านพื้นที่สูง ครัว รือความสะอาดของนํ้า (57 เปอร์เซ็นต์) ปัญหาตะกอนใน
เรือนกว่า 71 เปอร์เซ็นต์ให้ข้อมูลว่า กิจกรรมการก่อสร้าง แม่นํ้าลําธาร (50 เปอร์เซ็นต์) และแหล่งนํ้าแห้งแล้งลง
ต่าง ๆ ของโครงการ (ได้แก่ การก่อสร้างถนน การสร้าง (54 เปอร์เซ็นต์)
เขื่อน หรือการก่อสร้างอื่น ๆ) ได้ก่อผลกระทบต่อแหล่งนํ้า โดยรวมแล้ว 96 เปอร์เซ็นต์ของครัวเรือนทั้งหมด
ของชาวบ้านในพื้นที่ ในขณะที่ข้อมูลจากหมู่บ้านพื้นที่ราบ ระบุว่า ชาวบ้านหานํ้าดื่มได้จากแหล่งบ่อนํ้าตื้น และใน
ลุ่ม พบว่าครัวเรือน 17 เปอร์เซ็นต์ประสบปัญหาที่เกี่ยวข้อง จํานวนที่พอ ๆ กัน (95 เปอร์เซ็นต์) ใช้บ่อนํ้าดังกล่าวเพื่อ
กับการเข้าถึงแหล่งนํ้าและคุณภาพของนํ้าหลังการ การซักล้างและอุปโภคภายในบ้าน, 51 เปอร์เซ็นต์ยังใช้เพื่อ
32