Page 24 - เสียงจากชุมชน : ข้อกังวลเกี่ยวกับเขตเศรษฐกิจพิเศษทวายและโครงการที่เกี่ยวข้อง
P. 24
อาชีพหลัก รวมถึงครัวเรือน 12 เปอร์เซ็นต์ในหมู่บ้านมิตตา จากการสํารวจระบุเพียง 7 เปอร์เซ็นต์ของครัวเรือนเท่านั้น
นอกจากนี้ การประมงนํ้าจืดถือเป็นอีกหนึ่งอาชีพสําคัญ โดยเฉลี่ยแล้ว ชาวบ้านประมาณหนึ่งในสามของ
ของชาวกะเหรี่ยงที่อาศัยอยู่ใกล้กับแม่นํ้า เช่น หมู่บ้าน หมู่บ้านพื้นที่ราบลุ่มให้ข้อมูลว่า สมาชิกในครอบครัวอย่าง
เยโปต์ (ครัวเรือน 63 เปอร์เซ็นต์มีรายได้จากการจับปลา) น้อยหนึ่งคนออกไปทํางานต่างถิ่น ไม่ว่าจะเป็นภูมิภาค
หมู่บ้านตะบิวชอง (58 เปอร์เซ็นต์) หมู่บ้านกาตองนี (46 อื่นในเมียนมาร์ หรือว่าประเทศไทย ประมาณ 45 เปอร์เซ็นต์
เปอร์เซ็นต์) และหมู่บ้านปินธาดอว์ (32 เปอร์เซ็นต์) ของแรงงานต่างถิ่นเป็นผู้หญิง สถานการณ์ดังกล่าวปรากฏ
น้อยกว่าในหมู่บ้านชาวกะเหรี่ยง โดยมีครัวเรือนเพียง 15
พื้นที่อ่างเก็บนำ้า (เขื่อน): หมู่บ้านกาโลนท่า เปอร์เซ็นต์ที่ให้ข้อมูลว่าสมาชิกในครอบครัวไปเป็น
หมู่บ้านกาโลนท่าตั้งอยู่บนพื้นที่สูง แต่ทว่าอยู่ใกล้ ๆ กับที่ แรงงานต่างถิ่น ซึ่งในจํานวนดังกล่าว 55 เปอร์เซ็นต์เป็น
ราบนาบูเล ครัวเรือนโดยส่วนใหญ่ (95 เปอร์เซ็นต์) ระบุ ผู้หญิง
ว่าตนเป็นชาติพันธุ์ทวาย ด้วยเหตุนี้ทําให้หมู่บ้านกาโลน ครัวเรือนประมาณ 15 เปอร์เซ็นต์ในหมู่บ้าน
ท่าแตกต่างจากทั้งหมู่บ้านชาวทวายทั่วไปในพื้นที่ราบ พื้นที่ราบให้ข้อมูลว่า สมาชิกในครอบครัวอย่างน้อยหนึ่ง
และหมู่บ้านชาวกะเหรี่ยงในพื้นที่สูง คนทํางานกับบริษัทที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาโครงการเขต
สถานการณ์การถือครองที่ดินในหมู่บ้านกาโลน เศรษฐกิจพิเศษทวาย เช่น บริษัท อิตาเลียนไทยฯ เป็นต้น
ท่าค่อนข้างแตกต่างจากหมู่บ้านอื่น ๆ ครัวเรือนกว่า 94 อย่างไรก็ตาม ในหมู่บ้านกาโลนท่า และหมู่บ้านในพื้นที่
เปอร์เซ็นต์เป็นเจ้าของที่สวน มีเพียงผู้ให้ข้อมูลไม่กี่คนที่ถือ สูง ไม่มีครัวเรือนที่สมาชิกในครอบครัวทํางานกับบริษัทที่
ครองแปลงเกษตรแบบอื่น ๆ ครัวเรือนกว่า 81 เปอร์เซ็นต์ เกี่ยวข้องกับโครงการ
มีรายได้จากการทําสวน ขณะที่ 44 เปอร์เซ็นต์มีรายได้
เสริมจากการเลี้ยงปศุสัตว์ รายได้ในเขตที่ได้รับผลกระทบ
ดังที่ได้กล่าวไว้ข้างต้น รายได้จากภาคการเกษตรและ
วิถีการดำารงชีพของผู้ไร้ที่ดินทำากิน ทรัพยากรธรรมชาติมีความสําคัญต่อชาวบ้านส่วนใหญ่ที่
ในเขตที่ได้รับผลกระทบ อาศัยอยู่ในพื้นที่โครงการ ข้อมูลเพิ่มเติมแสดงให้เห็นว่า
ชาวบ้านผู้ไร้ที่ดินทํากินและสมาชิกอื่น ๆ ในชุมชนหาเลี้ยง 71 เปอร์เซ็นต์ของครัวเรือนทั้งหมดระบุว่ามีรายได้จากการ
ชีพด้วยการรับจ้างทําการเกษตร ซึ่งมีทั้งแบบลูกจ้างราย ทําสวน, 47 เปอร์เซ็นต์มีรายได้จากการเลี้ยงปศุสัตว์ และ
วันตามฤดูกาล หรือลูกจ้างประจํา กับเจ้าของที่สวนไร่นา 36 เปอร์เซ็นต์มีรายได้จากการทํานา (ดูแผนภาพที่ 2.3)
12
หรือไม่ก็เป็นลูกจ้างโรงงานแปรรูปมะม่วงหิมพานต์ และ ตัวเลขรายได้ประจําปีในปี 2556 ของแต่ละ
ยางพารา นอกจากนี้ยังมีครัวเรือนอื่น ๆ ที่ทําการค้าขาย ครัวเรือน ชี้ให้เห็นว่า 47 เปอร์เซ็นต์ของครัวเรือนทั้งหมด
เล็ก ๆ น้อย ๆ ซึ่งต้องขึ้นอยู่กับฐานะของชุมชนนั้น ๆ ด้วย หรือเกือบครึ่งหนึ่ง มีรายได้ตํ่ากว่า 2,300,000 จั๊ตต่อปี
ผู้ไร้ที่ดินเพียงส่วนน้อยเท่านั้นที่มีอาชีพรับจ้างประจํา (2 หรือประมาณ 30 บาทต่อคนต่อวัน และเกือบสามในสี่
13
เปอร์เซ็นต์) โดยส่วนมากจะเป็นลูกจ้างรายวัน แต่ข้อมูล หรือประมาณ 73 เปอร์เซ็นต์ของครัวเรือนทั้งหมด มีราย
12 เป็นที่น่าสังเกตว่า หลายครัวเรือนในหมู่บ้านพื้นที่สูงไม่ได้ให้ข้อมูลเกี่ยวกับรายได้ ที่เป็นเช่นนี้เนื่องจากวิถีการประกอบอาชีพของชุมชนชาว
กะเหรี่ยงพึ่งพาอาศัยอยู่กับความอุดมสมบูรณ์ของทรัพยากรธรรมชาติในท้องถิ่นมากกว่ารายได้ที่เป็นตัวเงิน เป็นที่น่าเสียดายว่า แหล่งที่มาของ
ทรัพยากรทั้งหมดที่ชาวบ้านพึ่งพาในรูปแบบที่ไม่ใช่ตัวเงินนั้น ไม่ได้อยู่ในขอบเขตของการวิจัยนี้
13 ตัวเลขข้างต้นมีที่มาจากรายได้ต่อครัวเรือนที่ 2,300,000 จั๊ต ซึ่งหารโดย 365 วัน (หรือ 6,300 จั๊ตต่อครัวเรือนต่อวัน) และต่อมาหารด้วย 6.5
คน (หรือประมาณ 970 จั๊ตต่อคนต่อวัน) ทั้งนี้ ผลจากการสํารวจที่ระบุในพื้นที่ศึกษาชี้ให้เห็นว่า ครัวเรือนมักมีขนาดใหญ่ โดยมีจํานวนเฉลี่ย 6.3
คนต่อครัวเรือนในพื้นที่ราบ และ 7.8 คนต่อครัวเรือนในพื้นที่สูง จึงได้ค่าเฉลี่ยโดยรวมอยู่ที่ 6.5 คนต่อครัวเรือน และอัตราแลกเปลี่ยน 1,000 จั๊ต
เท่ากับ 30 บาทโดยประมาณ
24