Page 21 - เสียงจากชุมชน : ข้อกังวลเกี่ยวกับเขตเศรษฐกิจพิเศษทวายและโครงการที่เกี่ยวข้อง
P. 21

หมู่บ้านในพื้นที่ราบลุ่ม

            ที่ตั้งของเขตเศรษฐกิจพิเศษทวายอยู่ในเขตพื้นที่ที่รู้จักกัน  ผลิตพืชผลในฤดูกาลอื่น  ตัวอย่างเช่น  การสนทนากลุ่มที่
            ในท้องถิ่นว่า นาบูเล (Nabule) เป็นเขตที่ขึ้นชื่อในเรื่องผืน  หมู่บ้านมูดู ชาวบ้านให้ข้อมูลว่าปลูกพืชต่าง ๆ เช่น แตงโม
            นาและชายฝั่งทะเลที่อุดมสมบูรณ์  ซึ่งดึงดูดให้ชาวบ้าน  กระเจี๊ยบแดง พริกแดง และพืชผักอื่น ๆ บนที่นาหลังทํา
            กลุ่มต่าง  ๆ  ในท้องถิ่นมาตั้งรกรากกว่าหลายศตวรรษ   นาปีเสร็จสิ้น  พืชผลเหล่านี้สําหรับทั้งบริโภคในครัวเรือน
            กลุ่มชาติพันธุ์หลักที่อาศัยอยู่ในพื้นที่เขตเศรษฐกิจพิเศษ  และขาย
            และพื้นที่ใกล้เคียงคือกลุ่มชาติพันธุ์ทวาย  โดยผู้ให้ข้อมูล     อย่างไรก็ตาม  การทําพืชสวนถือเป็นวิถีเลี้ยงชีพ
            ในเขตหมู่บ้านพื้นที่ราบลุ่มนี้มากถึง 99 เปอร์เซ็นต์ ระบุว่า  ที่สําคัญที่สุดในเขตพื้นที่ราบลุ่ม โดย 75 เปอร์เซ็นต์ของผู้
            ตนคือคนทวาย                                      ให้ข้อมูลถือครองพื้นที่สวนผลไม้  พืชสวนที่เป็นแหล่งราย
                    ประเพณีส่วนใหญ่ของชุมชนทวายแสดงออก       ได้มีหลายชนิด ชนิดที่ระบุถึงมากที่สุด คือ มะม่วงหิมพานต์
            ผ่านงานประเพณี บทเพลง ภาษาถิ่น และวัดวาอารามต่าง ๆ   รองลงมาคือ  ยางพารา  หมาก  และมะพร้าว  ตามลําดับ
            ซึ่งมีพื้นเพมาจากเรื่องราวของเมืองธาการะ (Thagara) –   นอกจากนี้ยังมีผลไม้อื่น ๆ เช่น เงาะ มะนาว ทุเรียน ส้มโอ
            เมืองศักดิ์สิทธิ์โบราณที่ก่อตั้งขึ้นในคริสต์สหัสวรรษที่ 1   และมะม่วง
            ตามแผนปัจจุบัน  ที่ตั้งของเมืองธาการะอยู่ใกล้กับเขต     ชาวบ้านในหมู่บ้านที่ราบลุ่มส่วนใหญ่เป็น
            เศรษฐกิจพิเศษมาก  รอยพระพุทธบาทศักดิ์สิทธิ์และรอย  เจ้าของที่ดิน โดยเป็นเจ้าของที่ทําเกษตรจํานวนหนึ่ง ทั้งนี้
            พระบาทของราชากระบือ ซึ่งเป็นศูนย์กลางของวัฒนธรรม  มีประมาณ  18  เปอร์เซ็นต์ของครัวเรือนที่ไม่ได้ถือครอง
            ธาการะประดิษฐานอยู่ที่พระธาตุจีดอว์ยา  (Kyidawyar   ที่ดินใด ๆ เลย ปัญหาที่ชาวบ้านไม่มีที่ดินเป็นของตนเอง
            Pagoda)  ใกล้  ๆ  กับหมู่บ้านเลชองและปาราดัต  หาก  พบมากในหมู่บ้านเลชอง โดยผู้ให้ข้อมูลถึง 25 เปอร์เซ็นต์
            โครงการเขตเศรษฐกิจพิเศษทวายเดินหน้า  วัดแห่งนี้จะ  ระบุว่าไม่มีที่ดินทําเกษตรเป็นของตนเอง  ครัวเรือนที่ไม่มี
            ถูกห้อมล้อมไว้ด้วยเขตอุตสาหกรรมหนัก              ที่ดินส่วนมากจะรับจ้างรายวันและเลี้ยงปศุสัตว์เป็นอาชีพ  บทที่ 2
                    เช่นเดียวกับที่อื่น  ๆ  ชาวบ้านส่วนใหญ่ในเขต  หลัก
            พื้นที่ราบลุ่มมีวิถีชีวิตที่พึ่งพาเกษตรกรรมเป็นหลัก  แต่ที่     ส่วนหมู่บ้านที่อยู่ใกล้กับชายฝั่ง  การทําประมง
            มากไปกว่านั้นคือ  ประมาณ  41  เปอร์เซ็นต์ของผู้ครอบ  และทํานาเกลือเป็นวิถีอาชีพที่สําคัญ  ชาวบ้านที่อยู่ใน
            ครองที่ดินที่สํารวจในหมู่บ้านพื้นที่ราบลุ่ม  ใช้ที่ดินทําการ  พื้นที่ราบลุ่มบางส่วนเป็นแรงงานอพยพตามฤดูกาล  ซึ่ง
            เกษตรแบบผสมผสาน ทั้งสวนผลไม้ นาข้าว และทําไร่บน  ทั้งทําไร่ทํานาและประมงในช่วงแต่ละฤดูกาล  เคยมีป่า
            พื้นที่สูง  ซึ่งช่วยให้ชาวบ้านมีโอกาสหลากหลายในแหล่ง  ชายเลนอยู่แถบชายฝั่งด้านตะวันตกของโครงการ  ก่อนที่
            รายได้และอาหาร  และเพิ่มพูนความมั่นคงต่อการดํารงชีพ  พื้นที่ ดังกล่าวกว่า 369 เอเคอร์ (1.49 ตารางกิโลเมตร) ถูก
                    การทํานาข้าวเป็นอาชีพที่สําคัญของวิถีชีวิตชาว  ตัดถางไปเพื่อสร้างถนนเลียบชายฝั่งในเขตเศรษฐกิจ
            บ้านในพื้นที่ราบลุ่ม โดยครัวเรือนเกือบ 45 เปอร์เซ็นต์ให้  พิเศษ (ดูแผนที่ดิจิทัล 2.2) ป่าชายเลนแห่งนี้เคยเป็นแหล่ง
            สัมภาษณ์ว่าเป็นเจ้าของที่นา  หมู่บ้านที่พึ่งพาการทํานา  เพาะพันธุ์และอนุบาลพันธุ์ปลาตามธรรมชาติ  ดังนั้นจึงมี
            มากที่สุดคือ  หมู่บ้านมะยินจี  ประมาณสามในสี่ของครัว  ความสําคัญต่อการประมง และยังถือเป็นแหล่งทรัพยากร
            เรือนในหมู่บ้านมะยินจีมีที่นาและถือการทํานาเป็นอาชีพ  ป่าไม้ที่สําคัญต่อชาวบ้านละแวกใกล้เคียง  เช่น  หมู่บ้าน
            หลัก  หมู่บ้านยาลายง์  เต็งจี  ปาราดัต  และมูดู  ก็เป็น  หงาปิดัต  เต็งจี  และบาวาร์  การประมงเป็นแหล่งรายได้
            หมู่บ้านที่มีที่นาเป็นจํานวนมากเช่นกัน โดยประมาณ 54–  ประมาณ 13 เปอร์เซ็นต์ของหมู่บ้านในพื้นที่ราบลุ่ม และ
            57 เปอร์เซ็นต์ของครอบครัวในหมู่บ้านเหล่านี้เป็นเจ้าของ  มันมีความสําคัญเป็นพิเศษต่อหมู่บ้านหงาปิดัต  เพราะผู้
            ที่นา                                            ให้ข้อมูลถึง 69 เปอร์เซ็นต์มีรายได้จากการทําประมง
                    ที่นามิได้แค่ผลิตข้าวในช่วงฤดูฝนเท่านั้น  แต่ยัง




                                                                                                        21
   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26