Page 244 - รายงานโครงการศึกษา เรื่อง การจัดทำตัวชี้วัดสิทธิมนุษยชนเบื้องต้นตามปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน
P. 244

ตัวชี้วัดที่ 5.7 การมีที่อยู่อาศัยที่พอเพียง (UDHR-5.7)

                      ตัวชี้วัดโครงสร้าง (A/a)          ตัวชี้วัดกระบวนการ (B/b)            ตัวชี้วัดผลลัพธ์ (C/c)                  ค าอธิบาย

                ตัวชี้วัดหลัก (A)                 ตัวชี้วัดหลัก (B)                  ตัวชี้วัดหลัก (C)                   คณะกรรมการประจ า ICESCR เน้นว่า

                1. มีกฎหมายรับรองสิทธิในที่ดินของ 1.  มีกลไกในการคุ้มครองและระงับข้อ 1.  จ  า น ว น   ส ถ า น ก า ร ณ์   ห รื อ  ที่อยู่อาศัยที่มีความปลอดภัย สงบสุข
                   บุคคล / การก าหนดให้มีค่าชดเชย     พิพาทในกรณีถูกรัฐขับไล่จากที่ดิน  สถานการณ์คนจรจัด คนไร้ที่อยู่     และมีศักดิ์ศรี

                   การเวนคืนที่ดิน                    ของรัฐ                            หรือคนใต้สะพาน เพิง สลัมที่เป็นที่    หลักประกัน ความเป็นเจ้าของ การเช่า
                                                  2.  มีเกณฑ์และการปฏิบัติในการจัดหา    อยู่ที่ไม่ถาวร                    การเป็นเจ้าของกรรมสิทธิ์ สหกรณ์ การ
                ตัวชี้วัดรอง (a)                                                                                          แบ่งเช่า บ้านพักฉุกเฉิน รวมถึงการ
                                                      แหล่งพักพิงฉุกเฉินที่พอเพียงให้กับ 2.  จ านวนครัวเรือนที่ถูกเวนคืนที่ดิน
                2. มีกฎหมายรับรองสิทธิเกี่ยวกับ       บุคคลในกรณีเกิดสาธารณภัยหรือ      หรือถูกบังคับไล่ที่               ครอบครองที่ดิน

                   ทรัพย์สิน สิทธิความเป็นเจ้าของ     ถูกบังคับไล่ที่ และได้มีการน าเกณฑ์ 3.  สัดส่วนครัวเรือนที่เข้าถึงบริการที่    การไม่ถูกขับไล่ออกจากที่ดิน การ
                   และสิทธิการเช่าที่อยู่อาศัย        ไปใช้                             พักพิงที่พอเพียงชั่วคราวกับสัดส่วน  คุกคามการอาศัย

                                                                                        ครัวเรือนที่ต้องการบริการ        สิ่งอ านวยความสะดวกพื้นฐานจ าเป็น
                                                  ตัวชี้วัดรอง (b)                                                        “มาตรฐานในการด ารงชีวิต” เหมาะที่
                                                                                        สาธารณะด้านที่พักพิงชั่วคราวใน
                                                  3.  มีกระบวนการในการพิจารณา           กรณีที่เกิดภัยพิบัติสาธารณะใน     จะเป็นที่อาศัย
                                                      ค่าชดเชยจากการเวนคืน              ระยะเวลา 2 วัน นับแต่ระยะเวลาที่    สภาพสิ่งแวดล้อมกายภาพและสังคม
                                                  4.  มีแหล่งเงินกู้เพื่อที่อยู่อาศัยที่มีอัตรา  เกิดภัยพิบัติขึ้น       กฎหมายปูองกันการไล่ที่ –การชดเชย

                                                      ดอกเบี้ยต่ าส าหรับคนมีรายได้น้อย                                   การบังคบไล่ที่- การฟูองร้องการกระท า
                                                                                     ตัวชี้วัดรอง (c)                     ที่ขัดกฎหมาย –กฎหมายคุ้มครอง

                                                                                     4.  ความเหมาะสมของค่าชดเชย ค่า       ผู้บริโภคที่ได้รับความเสียหายจากที่อยู่

                                                                                        เวนคืนที่ดินที่ท าโดยรัฐ เช่น ราคา   อาศัย
                                                                                        (ตลาด) และระยะเวลา (ไม่ช้าเกิน
                                                                                        ควร) เป็นต้น
                                                                                     5.  จ านวนที่อยู่อาศัย (หน่วย/ต่อปี) ที่

                                                                                        ด าเนินการโดยการเคหะแห่งชาติ                                         171
   239   240   241   242   243   244   245   246   247   248   249