Page 12 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ โครงการศึกษาวิจัยสาเหตุการละเมิดสิทธิมนุษยชนในกระบวนการยุติธรรมของเจ้าหน้าที่ตำรวจ
P. 12

บทที่ 1
                                                             บทน า




                      1.1  ที่มาและความส าคัญของปัญหาที่ท าการวิจัย


                                  ในปัจจุบัน สิทธิมนุษยชนเป็นเรื่องที่มีความส าคัญมาก โดยองค์การสหประชาชาติได้

                      มีมติรับรอง  และประกาศใช้ปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชนมาตั้งแต่  10  ธันวาคม   2491

                      ขณะที่ประเทศไทยนั้น ได้มีการบัญญัติเรื่องสิทธิมนุษยชน ไว้ในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
                      พ.ศ.2540  และในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550      ด้วยค าว่า “ศักดิ์ศรีความเป็น

                      มนุษย์ สิทธิ เสรีภาพ  และความเสมอภาคของบุคคลย่อมได้รับความคุ้มครอง ”  การคุ้มครองสิทธิ

                      ของประชาชนในกระบวนการยุติธรรมนั้น รัฐธรรมนูญ ฉบับปัจจุบัน มีบทบัญญัติที่ให้หลักประกัน

                      เกี่ยวกับคุ้มครองสิทธิเสรีภาพของประชาชนหลายมาตรา   อาทิ มาตรา   29   วรรคแรก ได้บัญญัติ

                      รับรองสิทธิและเสรีภาพไว้ว่า  “การจ ากัดสิทธิและเสรีภาพ ของบุคคลที่รัฐธรรมนูญรับรองไว้จะ
                      กระท ามิได้  เว้นแต่โดยอาศัยอ านาจตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย เฉพาะเพื่อการที่รัฐธรรมนูญนี้

                      ก าหนดไว้และเท่าที่จ าเป็นเท่านั้น  และจะกระทบกระเทือนสาระส าคัญแห่งสิทธิและเสรีภาพนั้นมิได้”

                                  ดังนั้นแนวทางการปฏิบัติของเจ้าหน้าที่ในกระบวนการยุติธรรม จึงต้องให้ความเคารพ

                      และมีหน้าที่คุ้มครองสิทธิพื้นฐานของประชาชน ซึ่งเจ้าหน้าที่ของรัฐจะละเมิดหรือริดรอน สิทธิเสรีภาพ

                      ของประชาชนไม่ได้หากกฎหมายไม่ให้อ านาจไว้  แต่ในทางปฏิบัติของเจ้าหน้าที่ต ารวจ ซึ่งเป็น
                      ต้นธารของกระบวนการยุติธรรม มักมีปัญหาการถูกกล่าวหาอยู่เนืองๆ ว่าการ ปฏิบัติตามอ านาจ

                      หน้าที่ อาทิ การจับ การค้น การควบคุม และการสืบสวนสอบสวน ไม่ค านึงถึงหลักประกัน ในการ

                      คุ้มครองสิทธิมนุษยชน  ตามที่รัฐธรรมนูญได้บัญญัติไว้ ท าให้เกิดการละเมิดสิทธิมนุษยชน โดย

                      ไม่จ าเป็น  และอาจท าให้สาระส าคัญแห่งสิทธิและเสรีภาพ ตามรัฐธรรมนูญถูกกระทบกระเทือน
                      อย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้

                              การปฏิบัติของเจ้าหน้าที่ต ารวจหลายกรณีในช่วงเวลาที่ผ่านมา ถูกกล่าวหาว่ามี

                      การละเมิดสิทธิมนุษยชน ไม่ว่าจะเป็นการกระท าในลักษณะของ     State  Crime หรือ การหาย

                      สาบสูญโดยไม่ปรากฏร่องรอย อาทิ การเสียชีวิตจ านวนมากของผู้คนในช่วงเวลาการประกาศ
                      สงคราม ยาเสพติด หรือการเสียชีวิต ของผู้ต้องหา ระหว่างการถูกควบคุมตัวของเจ้าหน้าที่ต ารวจ
   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17