Page 45 - การรวบรวมและวิเคราะห์เปรียบเทียบรายงานตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชนของอนุกรรมการสิทธิในทรัพยากรน้ำ ชายฝั่ง แร่และสิ่งแวดล้อม ในอนุคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ (พ.ศ.2544-2550)
P. 45

3.2   การจ าแนกเรื่องร้องเรียนออกตามพื้นที่จังหวัด

                          จากการส ารวจพื้นที่ที่มีกรณีร้องเรียนทั้งหมด พบว่าจังหวัดภูเก็ตเป็นพื้นที่ที่มีการร้องเรียนนับเป็นรายกรณี
                                                            ั่
                   มากที่สุดคือ 21 กรณี แยกเป็นประเด็นเกี่ยวกับชายฝงทะเล 18 กรณี และประเด็นอื่นๆเพียง 3 กรณี ส่วนใหญ่แล้ว
                                                                                 ั่
                   เป็นการร้องเรียนในเรื่องการพัฒนาโครงการที่มีผลกระทบต่อทรัพยากรชายฝงทะเล และข้อพิพาทในเรื่องที่ดิน
                        ั่
                   ชายฝงทะเลที่เกี่ยวเนื่องหลังจากเหตุการณ์ธรณีพิบัติภัยสึนามิ เช่นเดียวกับจังหวัดพังงาที่มีเรื่องร้องเรียนในอันดับ
                   รองลงมา คือ 18 กรณี โดยมีสัดส่วนการร้องเรียนตามฐานทรัพยากรคล้ายคลึงกัน

                          พื้นที่จังหวัดสงขลา เชียงใหม่ นครศรีธรรมราช ประจวบคีรีขันธ์  เป็นจังหวัดที่มีกรณีร้องเรียนมากกว่า 10
                   กรณี โดยมีประเด็นแยกตามฐานทรัพยากรกระจายออกไป โดยในพื้นที่จังหวัดเชียงใหม่มีข้อสังเกตว่ามีกรณี
                   ร้องเรียนเรื่องน ้ามากถึง 8 กรณีจาก 12 กรณี
                          พื้นที่จังหวัดระยอง กาญจนบุรี  ตรัง สุราษฏร์ธานี กระบี่ สระบุรี เชียงราย ตราด เป็นพื้นที่ที่มีการร้องเรียน
                   มากกว่า 5 กรณี โดยมีประเด็นแยกตามฐานทรัพยากรกระจายออกไป โดยในพื้นที่จังหวัดกาญจนบุรีมีข้อสังเกตว่ามี
                                                                                                   ั่
                   กรณีร้องเรียนเรื่องทรัพยากรแร่มากถึง 6 กรณีจาก 9 กรณี และจังหวัดตราด ที่มีกรณีร้องเรียนเรื่องชายฝง 4 จาก 6
                   กรณี
                          พื้นที่จังหวัดล าปาง ขอนแก่น และ พิษณุโลก มีกรณีร้องเรียนจังหวัดละ 5 กรณี โดยมีประเด็นแยกตามฐาน
                   ทรัพยากรกระจายออกไป
                          เมื่อพิจารณาตามพื้นที่เป็นรายจังหวัดแล้วพบว่าส่วนใหญ่จะมีกรณีร้องเรียนจังหวัดละ 1-3 กรณี ซึ่งมีกรณี
                   ร้องเรียน 3 กรณีรวม 13 จังหวัด กรณีร้องเรียน 2 กรณี 11 จังหวัด และ ร้องเรียนเพียง 1 กรณี ถึง 19 จังหวัด
                                                                                  ั่
                          สรุปพื้นที่รายจังหวัดที่มีกรณีร้องเรียนในประเด็นฐานทรัพยากรน ้า ชายฝง แร่ และสิ่งแวดล้อม กระจายอยู่
                   ในพื้นที่ 60 จังหวัด
                          ภาพที่ 3.1 แสดงแผนภูมิเปรียบเทียบจ านวนพื้นที่รายจังหวัดที่มีกรณีร้องเรียนเพียง 1 กรณี จนถึงที่มีกรณี
                   ร้องเรียนมากที่สุด 21 กรณี
                          ตารางที่ 3.1  แสดงการแจกแจงจ านวนกรณีจ าแนกตามประเด็นฐานทรัพยากรที่มีการร้องเรียนตามพื้นที่

                   รายจังหวัด


                                  ภาพที่ 3.2 แผนภูมิเปรียบเทียบจ านวนพื้นที่รายจังหวัดและจ านวนกรณีตรวจสอบ


               20


               15



               10
                                                                                                          จ ำนวนจังหวัด

                5


                0
                  1 กรณี 2 กรณี 3 กรณี 5 กรณี 6 กรณี 7 กรณี 8 กรณี 9 กรณี 11 กรณี 12 กรณี 14 กรณี 18 กรณี 21 กรณี






                                                              30
   40   41   42   43   44   45   46   47   48   49   50