Page 14 - การรวบรวมและวิเคราะห์เปรียบเทียบรายงานตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชนของอนุกรรมการสิทธิในทรัพยากรน้ำ ชายฝั่ง แร่และสิ่งแวดล้อม ในอนุคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ (พ.ศ.2544-2550)
P. 14
บทคัดย่อ
ั่
นับแต่ปี 2544 จนถึงเมษายน 2551 คณะอนุกรรมการสิทธิในทรัพยากรน ้า ชายฝง แร่ และ
ั
สิ่งแวดล้อม ได้ด าเนินการพิจารณาการละเมิดสิทธิและได้มีความเห็นและมติก าหนดมาตรการการแก้ไขปญหา
ในกรณีต่างๆ รวมทั้งสิ้น 247 กรณี โดยสามารถจ าแนกออกตามฐานทรัพยากรเป็น กรณีน ้า 65 กรณี กรณี
ั่
ชายฝงทะเล 64 กรณี กรณีแร่ (และทรัพยากรธรณีอื่นๆ) 62 กรณี และ กรณีพลังงาน อุตสาหกรรม และ
สิ่งแวดล้อม 56 กรณี พบว่าจังหวัดภูเก็ตเป็นพื้นที่ที่มีการร้องเรียนนับเป็นรายกรณีมากที่สุดคือ 21 กรณี
ั่
แยกเป็นประเด็นเกี่ยวกับชายฝงทะเล 18 กรณี และประเด็นอื่นๆเพียง 3 กรณี ส่วนใหญ่จะมีกรณีร้องเรียน
จังหวัดละ 1-3 กรณี ซึ่งมีกรณีร้องเรียน 3 กรณีรวม 13 จังหวัด กรณีร้องเรียน 2 กรณี 11 จังหวัด และ
ร้องเรียนเพียง 1 กรณี ถึง 19 จังหวัด สรุปพื้นที่รายจังหวัดที่มีกรณีร้องเรียนในประเด็นฐานทรัพยากรน ้า
ั่
ชายฝง แร่ และสิ่งแวดล้อม กระจายอยู่ในพื้นที่ 60 จังหวัด
ั
คณะผู้ศึกษาได้แบ่งกลุ่มปญหาและประเภทของโครงการ ประเด็นฐานทรัพยากรน ้าเป็น 4 กลุ่ม คือ
1) กรณีเกี่ยวกับเขื่อนและอ่างเก็บน ้า ฝายขนาดใหญ่ 2) กรณีเกี่ยวกับคลองส่งน ้า 3) กรณีเกี่ยวกับการเปลี่ยน
สภาพแหล่งน ้าและสร้างสิ่งกีดขวางหรือล่วงล ้าแหล่งน ้า และ 4) กรณีความขัดแย้งในการจัดการน ้า ประเด็น
ั่
ฐานทรัพยากรชายฝงทะเล เป็น 3 กลุ่ม คือ 1) กรณีเกี่ยวกับโครงการก่อสร้างท่าเทียบเรือและโครงสร้าง
ั่
ั่
วิศวกรรมชายฝง 2) กรณีเกี่ยวกับข้อพิพาทที่ดินชายฝงทะเล และ 3) กรณีความขัดแย้งเกี่ยวกับนโยบายและ
กิจกรรมทางทะเลต่างๆ รวมถึงความช่วยเหลือภายหลังธรณีพิบัติภัยสึนามิ ประเด็นฐานทรัพยากรแร่ จะ
ั
ั
ครอบคลุมถึงฐานทรัพยากรธรณีอื่นๆไว้ด้วย โดยแบ่งกลุ่มลักษณะปญหาออกเป็น 5 กลุ่ม คือ 1) กรณีปญหา
ั
ั
จากกิจกรรมเหมืองหินและโรงโม่หิน 2) กรณีปญหาจากเหมืองแร่ โรงแต่งแร่ และการขนส่งแร่ 3) กรณีปญหา
ั
ั
จากการสูบและต้มน ้าเกลือ 4) กรณีปญหาจากการขุดดินและดูดทราย และ 5)กรณีปญหาเกี่ยวกับข้อพิพาท
ั
ั
ที่ดินบริเวณเหมืองแร่เก่า ประเด็นปญหาด้านสิ่งแวดล้อม แบ่งกลุ่มลักษณะปญหาออกเป็น 3 กลุ่ม คือ 1)
ั
ั
กรณีปญหาจากโครงการพัฒนาพลังงานและประเด็นที่เกี่ยวข้อง 2) กรณีปญหาจากมลพิษโรงงาน
ั
อุตสาหกรรม และ 3) กรณีปญหาความขัดแย้งในการจัดการสิ่งแวดล้อมอื่นๆรวมถึงความขัดแย้งเชิงนโยบาย
และและแผนงานการพัฒนาที่อาจยังไม่เกิดขึ้น
หลักเกณฑ์ส าคัญที่ได้มีการน ามาใช้ ตรวจสอบ ได้แก่ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2540
และรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2550 และใช้กติการะหว่างประเทศ 2 ฉบับ ได้แก่ กติการะหว่าง
ประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง ว่าด้วยสิทธิในการก าหนดวิถีชีวิตตนเอง การตีความใน
เรื่องสิทธิปวงชนต่อการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ และ กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิทางเศรษฐกิจ
สังคม และวัฒนธรรม ว่าด้วยสิทธิในการก าหนดวิถีชีวิตตนเอง สิทธิในการได้รับมาตรฐานขั้นพื้นฐานในการ
ครองชีพ สิทธิและเสรีภาพในการใช้และได้รับประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติ
กฎหมายในระดับพระราชบัญญัติ กฎกระทรวง ประกาศกระทรวง ระเบียบ ตลอดทั้งมติ
คณะรัฐมนตรี เป็นส่วนส าคัญที่ใช้ประกอบ แต่กฎหมายที่ใช้เกือบทุกกรณี คือ พระราชบัญญัติคณะกรรมการ
สิทธิมนุษยชนแห่งชาติ พ.ศ.2542 พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2530
พระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ.2535 ส่วนกฎหมายอื่นก็เป็นการใช้ตามรายกรณี เช่น พระราชบัญญัติแร่ พ.ศ.
2510 พระราชบัญญัติการขุดดินและถมดิน พ.ศ.2543 เป็นต้น
ั
การตรวจสอบส่วนใหญ่มีผลให้เกิดการตรวจสอบและบรรเทาปญหา และคณะกรรมการสิทธิควรมี
บทบาทในการเสนอแนะเชิงนโยบายเพื่อให้เกิดการลดการละเมิดสิทธิในฐานทรัพยากรต่อหน่วยงานที่
เกี่ยวข้องต่อไป