Page 17 - การรวบรวมและวิเคราะห์เปรียบเทียบรายงานตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชนของอนุกรรมการสิทธิในทรัพยากรน้ำ ชายฝั่ง แร่และสิ่งแวดล้อม ในอนุคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ (พ.ศ.2544-2550)
P. 17

ชายทะเลที่มีเนื้อหาใกล้เคียงกัน ผู้ศึกษาจึงเห็นควรรวมกรณีขุมเหมืองเก่าเฉพาะบริเวณที่ติดชายทะเลไปอยู่
                                     ั่
                   ในฐานทรัพยากรชายฝง เป็นต้น นอกจากนี้ในกรณีการตรวจสอบการร้องเรียนเกี่ยวกับมลพิษทางน ้าซึ่งเดิม
                   ตรวจสอบโดยคณะอนุกรรมการที่ดินและน ้า และอนุกรรมการสิทธิในทรัพยากรน ้าและแร่ ภายหลังเมื่อได้ควบ

                   รวมกับอนุกรรมการด้านพลังงานและอุตสาหกรรม แล้วผู้ศึกษาจึงเห็นว่ากรณีที่เกี่ยวข้องกับมลพิษทางน ้าบาง
                   กรณีสมควรน าไปรวมไว้ในกลุ่มพลังงาน อุตสาหกรรม และสิ่งแวดล้อม เช่นกัน เพื่อการวิเคราะห์ให้เห็นกลุ่ม
                     ั
                                   ั
                   ปญหาตามลักษณะปญหาที่ใกล้เคียงกัน โดยได้จ าแนกกรณีตรวจสอบการละเมิดสิทธิดังกล่าวแสดงในตาราง
                   แยกเป็นรายปี (2544- เมษายน 2551) ในตารางที่ 3.2-3.9
                                 โดยการตรวจสอบกรณีร้องเรียนดังกล่าวของคณะอนุกรรมการถือได้ว่า เป็นการด าเนินการ
                   ตรวจสอบเชิงรุกในสิทธิมนุษยชนเกี่ยวกับฐานทรัพยากรอย่างเป็นทางการ เป็นครั้งแรกของประเทศไทย

                   เนื่องจากเป็นวาระแรกของการมีองค์กรอิสระ ดังเช่น คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ซึ่งในการ
                   ตรวจสอบกรณีร้องเรียนต่างๆ คณะอนุกรรมการได้มีการจัดท ารายงานในแต่ละกรณีเพื่อมีความเห็นและเสนอ
                                    ั
                   มาตรการการแก้ไขปญหาเกี่ยวกับกรณีต่างๆ ไว้ในรายงาน รายงานดังกล่าวเป็นเสมือนการบันทึกกรณีการ
                                                                                    ั
                   ละเมิดสิทธิมนุษยชนส่วนหนึ่งที่เกิดขึ้นในประเทศไทย และยังได้มีแนวทางการแก้ไขปญหาเสนอไว้อีกด้วย
                                 นอกจากนี้ ในรายงานดังกล่าวยังมีรายละเอียดของวิธีการตรวจสอบของคณะอนุกรรมการ
                   ข้อกฎหมาย หรือหลักการทางสิทธิมนุษยชน ที่คณะอนุกรรมการน ามาพิจารณา ตลอดถึงความคิดเห็นของ
                   คณะอนุกรรมการต่อกรณีดังกล่าว ซึ่งถือเป็นเอกสารส าคัญที่บ่งชี้ถึงสถานการณ์สิทธิมนุษยชนเกี่ยวกับฐาน
                                                                ั
                                                                             ั
                   ทรัพยากรได้ส่วนหนึ่ง และยังเห็นถึงแนวทางการแก้ไขปญหาทั้งในเชิงปจเจกและในเชิงนโยบาย เห็นถึง
                   ผู้กระท าละเมิด ผู้ถูกกระท าละเมิด รวมตลอดทั้งหลักเกณฑ์และข้อกฎหมายต่างๆที่เกี่ยวข้องกับการกรณี
                   ต่างๆ ดังนั้น รายงานการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชนของคณะอนุกรรมการ จึงถือเป็นเอกสารส าคัญที่

                   บ่งชี้สถานการณ์การละเมิดสิทธิมนุษยชน การท างานการตรวจสอบกรณีการละเมิดสิทธิมนุษยชน และการ
                         ั
                   แก้ไขปญหาการละเมิดสิทธิมนุษยชนในประเทศไทย

                   1.2 หลักการและเหตุผล

                                                                           ั่
                                 เนื่องจาก คณะอนุกรรมการสิทธิในทรัพยากรน ้า ชายฝง แร่ และสิ่งแวดล้อม พบว่าในการ
                                                                                               ั
                                                                  ั่
                   จัดท ารายงานการตรวจสอบการละเมิดสิทธิในกรณีน ้า ชายฝง แร่ และสิ่งแวดล้อม นั้น มีประเด็นปญหาการ
                   ละเมิดสิทธิชุมชนที่น่าสนใจหลายประการ รวมถึงการเชื่อมโยงต่อการควบคุม ก ากับดูแล โดยกฎหมายและ
                   นโยบายต่างๆ ของภาครัฐ อันมีต่อมาตรการคุ้มครองสิทธิของบุคคลและชุมชน ซึ่งโดยส่วนใหญ่จะเกี่ยวข้อง
                   กับกฎหมายระดับพระราชบัญญัติ ที่ให้อ านาจหน่วยงานในการท าหน้าที่อนุญาต และด าเนินการเกี่ยวกับการ

                   ใช้ทรัพยากร ซึ่งได้ตราขึ้นก่อนการบังคับใช้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540 ซึ่งรัฐธรรมนูญ
                   ฉบับดังกล่าวมีเนื้อหาก้าวหน้าในส่วนการให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการบ ารุงรักษา และใช้ประโยชน์จาก
                   ทรัพยากร และการตรวจสอบการใช้อ านาจของรัฐ ดังนั้น หลังการใช้รัฐธรรมนูญฉบับดังกล่าวจึงมีผลโดยตรง
                   ต่อการใช้หลักการตามรัฐธรรมนูญผ่านช่องทางการร้องเรียนผ่านคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ในการ
                       ้
                   ปกปองสิทธิของชุมชนและบุคคล จากการพัฒนาทรัพยากรที่มีผลกระทบหรืออาจมีผลกระทบต่อสภาวะ
                   แวดล้อม วิถีชีวิต และชุมชน ที่มีกฎหมายของหน่วยงานที่รับผิดชอบอาจบัญญัติไว้ไม่ครอบคลุมหรือมีช่องว่าง
                                 จากการตรวจสอบกรณีร้องเรียนทั้ง 247 กรณี ของคณะอนุกรรมการ พบว่า กระบวนการ
                                          ั
                   การตรวจสอบสามารถแก้ไขปญหาในกรณีต่างๆ ได้อย่างเป็นรูปธรรมในหลายกรณี เช่น ท าให้โครงการบาง
                                                                          ั
                                                                                                 ่
                   โครงการต้องยกเลิกไป หรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องได้เข้าไปแก้ไขปญหาจนเป็นที่พอใจแก่ทุกฝาย แต่
                                                      ั
                   ขณะเดียวกันก็พบกรณีที่ไม่สามารถแก้ไขปญหาตามอ านาจหน้าที่ของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนได้ใน
                   หลายกรณีเช่นเดียวกัน ทั้งนี้ ในหลายกรณีเป็นการใช้กฎหมายและระเบียบปฏิบัติของหน่วยงานเพื่อบังคับใช้




                                                            2
   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22