Page 170 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง ปัญหาเยาวชนหญิงที่ตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควรกับมิติสิทธิมนุษยชน ฉบับสมบูรณ์
P. 170
๒.๑ คุณได้ยินเรื่องราวเกี่ยวกับวัยรุ่นหญิงที่ท้องไม่พร้อมบ้างหรือไม่ จากใคร ที่ไหน และรู้สึก
อย่างไร
๒.๒ คุณคิดอย่างไรต่อการตัดสินใจของเยาวชนหญิงที่ท้องไม่พร้อม (ถามความคิดเห็นและ
ทัศนคติที่มีต่อการตัดสินใจในแต่ละกรณี)
ก.กรณีตัดสินใจยุติการตั้งครรภ์ (คิดว่าเป็นเพราะอะไร ที่ท าให้ตัดสินใจเลือกยุติการ
ตั้งครรภ์)
ข.กรณีตัดสินใจตั้งครรภ์ต่อ (คิดว่าเป็นเพราะอะไร ที่ท าให้ตัดสินใจเลือกตั้งครรภ์ต่อ)
๓.สำเหตุ/เงื่อนไข/ปัจจัยที่ท ำให้เกิดปัญหำ รวมถึงผลกระทบต่อเยำวชนหญิงที่ท้องไม่พร้อม
๓.๑ มีเพศสัมพันธ์ครั้งแรกอายุเท่าไหร่ ตอนนั้นคุมก าเนิดไหม คุมด้วยวิธีอะไร
รู้จักวิธีคุมก าเนิดอะไรบ้าง ตอนนี้คุมอยู่หรือเปล่า ใช้วิธีไหน
๓.๒ ทราบว่าแฟนท้องได้อย่างไร และท าไมถึงท้อง
๓.๓ ความรู้สึกช่วงนั้นเป็นอย่างไร ได้คุยให้ใครฟังบ้าง ท าไมเลือกคุยให้คนเหล่านี้ฟัง เขาให้ความ
ช่วยเหลืออะไรไหม หรือช่วยแนะน าอะไรไหม (ถ้าไม่ได้ปรึกษาใครในทันที ซักให้ได้ว่าอยู่กับปัญหา
ตามล าพังนานไหม)
๓.๔ พ่อแม่/ครู/หัวหน้างาน รู้เรื่องไหม รู้ได้อย่างไร (เลือกถามตามที่เห็นว่าผู้ถูกสัมภาษณ์น่าจะอยู่
ใต้ปกครอง) เขามีปฏิกิริยาอย่างไร เขาต้องการให้ท้องต่อไหม เขาแนะน าหรือช่วยอะไรไหม
๓.๕ คิดอย่างไรกับปฏิกิริยาของคนรอบข้าง
๓.๖ คิดว่าสิ่งที่เกิดขึ้นส่งผลต่อชีวิตเรายังไง (ค าตอบไม่จ าเป็นต้องเป็นด้านลบเท่านั้น)
ผลต่อสุขภาพ
ผลต่อจิตใจ
ผลต่อการด าเนินชีวิตประจ าวัน โรงเรียน ครอบครัว งาน ความสัมพันธ์กับเพื่อน กับ
เพศตรงข้าม คนรอบข้าง
ผลต่อค่าใช้จ่ายและรายได้ของครอบครัว ต้องมีรายจ่ายเพิ่มขึ้นไหม อย่างไร
คุณมีวิธีจัดการกับผลต่างๆ เหล่านั้นอย่างไร และท าอย่างไรจึงจะช่วยให้เราได้มีโอกาสในการ
ด าเนินชีวิตต่อไปได้โดยป้ องกันการถูกละเมิดสิทธิ (ภายใต้กรอบคุ้มครองสิทธิขั้นพื้นฐาน ได้แก่สิทธิในการ
ดูแลและป้ องกันสุขภาพ, สิทธิในการตัดสินใจว่าจะมีบุตรหรือไม่และจะมีเมื่อใด,สิทธิในการมีชีวิตอยู่อย่าง
ข-๑๖