Page 7 - รายงานผลการตรวจสอบเพื่อมีข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย : กรณีเหตุการณ์การชุมนุมของกลุ่ม นปช. ระหว่างวันที่ 12 มีนาคม 2553 ถึงวันที่ 19 พฤษภาคม 2553
P. 7
ว่าแกนนำากลุ่มแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ (นปช.) กระทำาการอันเป็นการละเมิด
สิทธิมนุษยชน ดังนี้
คำาร้องที่กล่าวอ้างว่า รัฐบาล และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
กระทำาการอันเป็นการละเมิดสิทธิมนุษยชน
๑) คำาร้องที่ ๒๐๕/๒๕๕๓ สิทธิและเสรีภาพในการชุมนุมทางการเมือง กรณี
นายวิทยา บุรณศิริ ประธานคณะกรรมการประสานงานพรรคร่วมฝ่ายค้าน
(วิปฝ่ายค้าน) กับพวก สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรพรรคเพื่อไทย กล่าวหาว่า
คณะรัฐบาลนำากำาลังทหารเข้ายึดสภา ซึ่งเป็นการล่วงละเมิดฝ่ายนิติบัญญัติ
๒) คำาร้องที่ ๒๖๑/๒๕๕๓ สิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง กรณีขอให้ตรวจสอบ
การสลายการชุมนุม ในวันที่ ๑๐ เมษายน ๒๕๕๓
๓) คำาร้องที่ ๒๘๑/๒๕๕๓ สิทธิและเสรีภาพในชีวิตและร่างกาย กรณีน้องชายของ
ผู้ร้องกับพวกถูกเจ้าหน้าที่ทหารจับกุมตัวและทำาร้ายร่างกาย โดยกล่าวหาว่า
เป็นผู้ร่วมชุมนุมของแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ
๔) คำาร้องที่ ๒๙๓/๒๕๕๓ สิทธิในกระบวนการยุติธรรม กรณีสถานที่ควบคุมตัว
ตามพระราชกำาหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ. ๒๕๔๘ ไม่
ชอบด้วยกฎหมาย
๕) คำาร้องที่ ๒๙๕/๒๕๕๓ สิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง กรณีขอให้ตรวจสอบ
การละเมิดสิทธิของนายสมยศ พฤกษาเกษมสุข ภายใต้พระราชกำาหนดการ
บริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ. ๒๕๔๘
๖) คำาร้องที่ ๓๒๘/๒๕๕๓ สิทธิและเสรีภาพในชีวิตและร่างกาย กรณีบุตรชาย
สูญหายอันเนื่องมาจากสลายการชุมนุม
๗) คำาร้องที่ ๓๓๘/๒๕๕๓ สิทธิและเสรีภาพในชีวิตและร่างกาย กรณีได้รับบาดเจ็บ
จากเหตุยิงปะทะกันระหว่างเจ้าหน้าที่ทหารและกลุ่ม นปช. เมื่อวันที่ ๑๔ พฤษภาคม
๒๕๕๓
๘) คำาร้องที่ ๓๔๗/๒๕๕๓ สิทธิและเสรีภาพในชีวิตและร่างกาย กรณีได้รับบาดเจ็บ
จากเหตุยิงปะทะกันระหว่างเจ้าหน้าที่ทหารและกลุ่ม นปช. เมื่อวันที่ ๑๔ พฤษภาคม
๒๕๕๓
๙) คำาร้องที่ ๓๔๘/๒๕๕๓ สิทธิและเสรีภาพในชีวิตและร่างกาย กรณีเดินทางไป
สังเกตการณ์การชุมนุมของกลุ่มแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ
(นปช.) ในวันที่ ๑๙ มิถุนายน ๒๕๕๓ และถูกเจ้าหน้าที่ทหารใช้อาวุธปืนยิงได้รับ
บาดเจ็บ
5
รายงานผลการตรวจสอบเพื่อมีข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย
กรณีเหตุการณ์การชุมนุมของกลุ่ม นปช. ระหว่างวันที่ ๑๒ มีนาคม ๒๕๕๓ ถึงวันที่ ๑๙ พฤษภาคม ๒๕๕๓