Page 8 - คู่มือสำหรับผู้ดำเนินการอบรมสำหรับหลักสูตรอบรมเรื่อง สิทธิและหน้าที่แรงงานข้ามชาติ
P. 8
แรงงานขามชาติ ในหลักสูตรนี้ หมายถึง
แรงงานและผูติดตามที่ยายถิ่นมาจาก 3 ประเทศ ไดแก พมา ลาว และกัมพูชา ซึ่งเขามาใน
ประเทศไทยโดยผิดกฏหมาย(ตามพระราชบัญญัติคนเขาเมือง พ.ศ. 2522) เพื่ออาศัย หรือ ทำงาน
ในประเทศไทยในฐานะแรงงานไรฝมือ(ซึ่งไมรวมกลุมแรงงานขามชาติที่ผานการพิสูจนสัญชาติ)
ประเด็นสำคัญ ที่วิทยากรควรเนนในการอบรม
1) แรงงานขามชาติเปนปรากฏการณทั่วโลก และแรงงานขามชาติในประเทศไทยมีความสำคัญตอระบบ
เศรษฐกิจ
2) การปฏิบัติตอแรงงานขามชาติ ควรคำนึงถึงความแตกตางระหวางวัฒนธรรม และสถานการณของ
แตละประเทศ
3) สิทธิมนุษยชนที่มีความเทาเทียมกันของทุกคน
4) “สิทธิ” และ “หนาที่” เปนสิ่งคูกัน การทำความเขาใจเรื่องสิทธิของแรงงานขามชาติ จำเปนตองเขาใจใน
หนาที่หรือขอควรปฏิบัติของแรงงานขามชาติดวย เพราะเปนการใหไดมาซึ่งสิทธิและการคุมครอง
ขอควรคำนึงสำหรับผูนำหลักสูตรไปใช (วิทยากร)
• หลักสูตรที่จัดทำขึ้นนี้ ไมไดจำกัดเฉพาะความรูสำหรับการทำงานกับกลุมแรงงานขามชาติ
ที่ขึ้นทะเบียนเทานั้น แตคลอบคลุมถึงแรงงานขามชาติที่ไมไดรับการรับรองสถานะทางกฎหมาย
(ไมมีเอกสารใดๆ) โดยเนื้อหาหลักสูตรจะทำใหเห็นถึงสถานการณ และสิทธิที่พึงไดรับของ
แรงงานขามชาติไมวาจะมีสถานภาพทางกฎหมายเปนอยางใด
• เนื่องจากเนื้อหาหลักสูตรเปนเรื่องเกี่ยวกับกฎหมาย กติกา ระเบียบขอบังคับ ซึ่งมีการเปลี่ยน
แปลงอยูเสมอ ดังนั้น การนำหลักสูตรไปใชตองติดตามความเปลี่ยนแปลงของกฏหมายและ
นโยบายตางๆ อยางตอเนื่อง
• วิทยากรเสริมที่เชิญมาใหความรูเพิ่มเติมในประเด็นตางๆ ควรเปนผูเขาใจบริบท หรือมีประสบ
การณการทำงานกับแรงงานขามชาติ
• ควรมีผูชวย 1-2 คน ที่มีประสบการณในการเปนผูนำกระบวนการเรียนรูในกลุมยอยและมี
ความรูเกี่ยวกับแรงงานขามชาติ
• ควรมีผูชวยบันทึกขอมูลจากการอบรม เพื่อนำไปสรุปเปนองคความรูใหมๆ