Page 5 - คู่มือสำหรับผู้ดำเนินการอบรมสำหรับหลักสูตรอบรมเรื่อง สิทธิและหน้าที่แรงงานข้ามชาติ
P. 5

บทนำ


                  ความเปนมา

                         สถานการณการจางแรงงานขามชาติเกิดขึ้นอยางมากมายในยุคโลกาภิวัฒน ที่มีการขยายตัวสูง
                  ในธุรกิจอุตสาหกรรมหลายประเภท ประกอบกับ มีตลาดแรงงานเกิดขึ้นอยางมาก ขณะที่มีความขาดแคลน
                  แรงงานในประเทศ ดังนั้น การเคลื่อนยายของแรงงานจากประเทศหนึ่งไปยังอีกประเทศที่มีความเจริญ
                  เติบโตทางเศรษฐกิจ สังคม และการลงทุนที่สูงกวา จึงมีใหเห็นอยางสม่ำเสมอทั้งในระดับโลก และระดับ
                  ภูมิภาค ทั้งนี้ประเทศที่มีความเกี่ยวของกับการเคลื่อนยายแรงงานโดยมีวัตถุประสงค เพื่อการประกอบ

                  อาชีพ จึงแบงไดเปน ประทศในกลุมประเทศตนทาง ประเทศปลายทาง ประเทศที่เปนทั้งประเทศสงและรับ
                  และประเทศที่เปนทางผาน
                         ประเทศไทยเปนประเทศหนึ่งในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต ที่นับไดวาเปนประเทศที่มี
                  บทบาทสำคัญทั้งเปนประเทศสง ประเทศรับ และประเทศทางผานของแรงงานเนื่องจากมีการเจริญเติบโต
                  ทางเศรษฐกิจและการจางงานอยางรวดเร็ว โดยเฉพาะหลังจากปญหาวิกฤตเศรษฐกิจไทยใน ป พ.ศ. 2540
                  ที่การเจริญเติบโตของการลงทุนในประเทศไทยชลอตัว ฐานเศรษฐกิจของประเทศก็มีการปรับเปลี่ยนจาก

                  ภาคเกษตรกรรมไปสูภาคอุตสาหกรรม  เปนผลใหอัตราการเติบโตของความตองการแรงงานสูงขึ้นตาม
                  ไปดวย ทำใหธุรกิจอุตสาหกรรมบางประเภท เชน อุตสาหกรรมประมงทะเล อุตสาหกรรมที่ตอเนื่องจาก
                  ประมงทะเล งานกอสราง ภาคเกษตร ฯลฯ ที่ตองการจางแรงงานไรฝมือจำนวนมาก และแรงงานไทยก็ไม
                  นิยมทำเพราะเปนงานที่หนัก สกปรก และรายไดนอย จึงทำใหตองวาจางแรงงานขามชาติเขามาทดแทน

                         แรงงานขามชาติที่เขามาประกอบอาชีพในประเทศไทย  มีทั้งที่เดินทางเขามาอยางถูกตอง  และ
                  ไมถูกตองตามกฎหมาย ซึ่งแตละกลุม แตละชนชาติมีหลักปฏิบัติของการเคลื่อนยายแรงงานแตกตางกัน
                  ดังนั้นรัฐบาลไทยจึงไดกำหนดมาตราการเพื่อควบคุมการเคลื่อนยายแรงงานเหลานี้ โดยเฉพาะแรงงาน
                  ที่ยายเขามาจากประเทศเพื่อนบาน พมา ลาว และกัมพูชา โดยมีการปรับปรุงแกไขและพัฒนากฎหมาย
                  และนโยบายของกระทรวงแรงงาน เพื่อใหเกิดประโยชนกับองคกรแรงงาน และผูใชแรงงานและสอดคลอง
                  กับสถานการณทางเศรษฐกิจ  สังคม  และความตองการของแรงงานในภาคสวนตางๆ  อยางไรก็ตาม

                  นโยบายและกฎหมายที่เกิดขึ้นยังคงมีการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงอยางตอเนื่อง และยังคงตองพิจารณาให
                  อยูภายใตกฎหมายพื้นฐานสำหรับองคกรแรงงาน และผูใชแรงงานพรอมทั้งสนธิสัญญาระหวางประเทศ
                  ที่ประเทศไทยไดลงนามรวมกับประเทศตางๆ ซึ่งการเปลี่ยนแปลงใดที่เกิดขึ้นตองอยูบนฐานสิทธิมนุษยชน
                  และอยูภายใตกฎหมายของประเทศ
                         องคการระหวางประเทศเพื่อการโยกยายถิ่นฐาน ซึ่งทำงานเนน “การอพยพยายถิ่นที่คำนึงถึง

                  หลักมนุษยธรรม ซึ่งจะเปนประโยชนตอบุคคลตางดาวและสังคม” รวมกับทางกระทรวงแรงงาน และ
                  สำนักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ  ในการพัฒนาเครื่องมือความรู  เพื่อสรางความตระหนัก
                  ใหกับบุคคลที่ทำงานในหนวยงานภาครัฐ  นายจางและแรงงานขามชาติ  ภายใตโครงการ  “Migrant
                  Rights Capacity Building for Government Officials, Employers, Burmese Migrants and Host
                  Communities in Thailand”  โดยมูลนิธิรักษไทย องคกรพัฒนาเอกชนหนึ่งในประเทศไทย
                                                                                                      ค
   1   2   3   4   5   6   7   8   9   10