Page 113 - คู่มือสำหรับผู้ดำเนินการอบรมสำหรับหลักสูตรอบรมเรื่อง สิทธิและหน้าที่แรงงานข้ามชาติ
P. 113

การรักษาแรงงานขามชาติที่ติดเชื้อ เอชไอวี เอดส และการใหคำปรึกษาเพื่อตรวจเลือด
                  โดยสมัครใจ (VCCT)

                  สิทธิดานสุขภาพของแรงงานขามชาติที่ติดเชื้อเอชไอวี  จำแนกไดเปน

                         • กลุมที่มีประกันสุขภาพ จะไดรับสิทธิในการดูแล รักษาโรคติดเชื้อฉวยโอกาส (OI) แตจะไมครอบ
                  คลุมยาตานไวรัสเอดส (ARV) ยกเวนหญิงตั้งครรภที่ติดเชื้อ จะไดรับยาตานไวรัสปองกันการติดเชื้อจากแมสูลูก

                         •  กลุมที่ไมมีประกันสุขภาพ  จะตองเสียคาใชจายในการรักษาเองทั้งหมด  ไมวาจะปวยดวย

                  โรคอะไรก็ตาม อยางไรก็ตาม ขณะนี้มีโครงการนภา 2 (NAPHA Extension) ภายใตงบประมาณจาก
                  กองทุนโลกฯ  ซึ่งใหยาตานไวรัสเอดสกับแรงงานขามชาติและกลุมชาติพันธุทั้งกลุมที่มีบัตรและไมมีบัตร
                  สำหรับตรวจเลือดหาเพื่อเชื้อเอชไอวี เปนสิทธิของแตละบุคคลที่จะตรวจหรือไมตรวจ การบังคับใหตรวจ
                  ไมวาจะโดยแพทย พยาบาล หรือนายจาง ถือเปนการละเมิดสิทธิมนุษยชน และที่สำคัญในการตัดสินใจ

                  ตรวจเลือดควรเลือกสถานพยาบาลที่มีบริการใหคำปรึกษากอนและหลังการตรวจ  เพื่อรวมกันวางแผน
                  การดูแล และปองกันตอไป


                  หนวยงานที่เกี่ยวของในการตรวจและประกันสุขภาพแรงงานขามชาติ
                  หากมีขอสงสัย หรือขอรองเรียน ในการใหบริการสุขภาพแรงงานขามชาติ สามารถศึกษาขอมูล หรือ
                  สอบถามไดที่
                         (1) สำนักพัฒนาระบบบริการสุขภาพ กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ โทรศัพท 0-2590-1636

                               โทรสาร 0-2590-1639 เว็บไซต www.hss.moph.go.th เลือกสำนักพัฒนา ระบบบริการ
                               สุขภาพ และเลือกโครงการฟามิตร หรือ http://203.157.3.100/phdb/index.php?DpId=19
                         (2) กรมการแพทย เปนผูกำหนดสถานพยาบาลที่รับตรวจและประกันสุขภาพแรงงานขามชาติ
                               ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร www.dms.moph.go.th

                         (3) สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด เปนผูกำหนดสถานพยาบาลที่รับตรวจและประกันสุขภาพ
                               แรงงานขามชาติในแตละจังหวัด


                  สิทธิสุขภาพดานอนามัยเจริญพันธุ
                         ปญหาประการหนึ่งของหญิงแรงงานขามชาติ คือ การถูกละเมิดสิทธิดานอนามัยเจริญพันธุ เชน
                  นโยบายการสงกลับหญิงตั้งครรภ ซึ่งมีขาวออกมาเปนชวงๆ การไมรับหญิงตั้งภรรคเขาทำงาน หรือเลิกจาง
                  สงผลใหหญิงแรงงานขามชาติที่ตั้งครรภตองไปทำแทง การลวงละเมิดทางเพศจากนายจางหรือคนใน

                  ชุมชน การบังคับใหขายบริการ สิทธิอนามัยเจริญพันธุ เปนสิทธิมนุษยชนที่เกี่ยวของกับสุขภาวะทางเพศ
                  ของทั้งผูหญิงและผูชาย ซึ่งประกอบดวย*


                  (* จากหนังสือ “สิทธิอนามัยการเจริญพันธุ หัวใจสำคัญของสุขภาพผูหญิง” โดย คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ และมูลนิธิสรางความเขาใจเรื่องสุขภาพผูหญิง)



                                                                                        บทที่ 4 สิทธิสุขภาพ  97
   108   109   110   111   112   113   114   115   116   117   118