Page 77 - การรวบรวมและวิเคราะห์เปรียบเทียบ รายงานตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชนของคณะอนุกรรมการสิทธิในทรัพยากรน้ำ ชายฝั่ง แร่ และสิ่งแวดล้อม ในคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ (พ.ศ. 2545 - 2550) : (รายงานหลัก)
P. 77
ั
ั
สามารถจ าแนกเป็นประเด็นปญหาหลัก ๆ ได้ คือ ผลกระทบมลพิษและปญหาผลกระทบต่อ
สิ่งแวดล้อมอื่นๆทั้ง 2 กรณี
ั่
ั
คณะอนุกรรมการสิทธิในทรัพยากรน ้า ชายฝง แร่ และสิ่งแวดล้อม ได้เสนอมาตรการแก้ไขปญหา
ั
ให้กับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ให้แก้ไขปญหาความเดือดร้อน ขอให้จ่ายค่าชดเชยต่อผู้ได้รับผลกระทบ ขอให้ปฏิบัติ
ตามเงื่อนไขท้ายใบอนุญาต ขอให้ด าเนินการฟื้นฟูสภาพแวดล้อม ขอให้หน่วยงานเอาผิดด าเนินคดีกับเจ้าของ
โครงการ และยังเสนอการยกเลิกใบอนุญาต หรือไม่ต่อใบอนุญาต
ั
การติดตามผลการคุ้มครองสิทธิ มีการตรวจสอบและบรรเทาปญหา 2 กรณี
่ ้
ดูดทรายและขุดดิน ก่อให้เกิดการสูญเสียที่ดิน ดินยุบ ตลิ่งพัง เกิดมลภาวะ ฝุนฟุง น ้าขุ่น
น ้าใต้ดินหายไป
ผู้ถูกร้อง ได้แก่ กรมโรงงานอุตสาหกรรม กรมการขนส่งทางน ้าและพาณิชย์นาวี จังหวัด
องค์การบริหารส่วนต าบล ส านักงานอุตสาหกรรมจังหวัด ส านักงานขนส่งทางน ้า
หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ ส านักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
จังหวัด กรมที่ดิน กรมโยธาธิการ กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ กรมทรัพยากร
ธรณี กระทรวงมหาดไทย สถานีต ารวจภูธร องค์การบริหารส่วนต าบล ส านักงาน
อุตสาหกรรมจังหวัด
ั
สามารถจ าแนกเป็นประเด็นปญหาหลัก ๆ ได้อย่างน้อย 2 ประเด็น คือ 1) ผลกระทบมลพิษและ
ั
แรงสั่นสะเทือน 1 กรณี 2) ปญหาพังทลายของดิน-ตลิ่งน ้า 7 กรณี
ั่
ั
คณะอนุกรรมการสิทธิในทรัพยากรน ้า ชายฝง แร่ และสิ่งแวดล้อม ได้เสนอมาตรการแก้ไขปญหา
ั
ให้กับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเอาไว้ทั้งหมด 4 แนวทาง คือ 1) ให้ยุติโครงการ 2 กรณี 2) ให้แก้ไขปญหาความ
เดือดร้อน ขอให้จ่ายค่าชดเชยต่อผู้ได้รับผลกระทบจากการก่อสร้างโครงการ 6 กรณี
ั
การติดตามผลการคุ้มครองสิทธิ มีการตรวจสอบและบรรเทาปญหา 7 กรณี และไม่สามารถ
ติดตามผลได้ 1 กรณี
ที่ดินขุมเหมืองและเหมืองเก่า ก่อให้เกิดการอ้างสิทธิในที่ดินขุมเหมือง ทั้งที่เป็นพื้นที่สาธารณะ
ั
เกิดปญหาการแย่งชิงที่ดินระหว่างชาวบ้านกับผู้ได้รับอนุญาตให้ท าเหมืองเดิม
ผู้ถูกร้อง ได้แก่ กรมที่ดิน บริษัท ฟาร์อีสท์ เทรดดิ้ง แอนด์ คอนสตรัคชั่น จ ากัด ส านักงาน
่
ที่ดินจังหวัดพังงา สาขาตะกั่วปา ส านักงานที่ดินจังหวัดสงขลา กรมที่ดิน จังหวัดภูเก็ต
หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ องค์การบริหารส่วนต าบลท้ายเหมือง กรมที่ดิน รัฐบาล
ั
สามารถจ าแนกเป็นประเด็นปญหาหลัก ๆ คือการพิพาทกรรมสิทธิ์ที่ดินทั้ง 4 กรณี
ั่
คณะอนุกรรมการสิทธิในทรัพยากรน ้า ชายฝง แร่ และสิ่งแวดล้อม ได้เสนอมาตรการแก้ไข
ั
ั
ปญหาให้กับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเอาไว้ทั้งหมด 2 แนวทาง คือ 1) ให้แก้ไขปญหาความเดือดร้อน 2 กรณี 3) ให้ยุติ
การตรวจสอบ ตามมาตรา 22 2 กรณี
ั
การติดตามผลการคุ้มครองสิทธิ พบว่า มีการตรวจสอบและบรรเทาปญหา 2 กรณี และไม่
สามารถติดตามผลได้ 2 กรณี
61