Page 82 - การรวบรวมและวิเคราะห์เปรียบเทียบ รายงานตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชนของคณะอนุกรรมการสิทธิในทรัพยากรน้ำ ชายฝั่ง แร่ และสิ่งแวดล้อม ในคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ (พ.ศ. 2545 - 2550) : (รายงานหลัก)
P. 82
ั
สามารถจ าแนกเป็นประเด็นปญหาหลัก ๆ ได้อย่างน้อย 3 ประเด็น คือ 1) ผลกระทบมลพิษ 6
ั
กรณี 2) ความขัดแย้งเชิงนโยบาย 5 กรณี 3) ปญหาในการพัฒนาพื้นที่กับชุมชน 11 กรณี
ั่
ั
คณะอนุกรรมการสิทธิในทรัพยากรน ้า ชายฝง แร่ และสิ่งแวดล้อม ได้เสนอมาตรการแก้ไขปญหา
ั
ให้กับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเอาไว้ทั้งหมด 2 แนวทาง คือ 1) ให้แก้ไขปญหาความเดือดร้อน เช่น ให้ฟื้นฟูระบบนิเวศ
ที่ได้รับผลกระทบจากการด าเนินโครงการ ให้ชดเชยความเสียหายที่เกิดจากการก่อสร้างโครงการหรือการด าเนิน
โครงการ 9 กรณี 2) ให้ยุติการตรวจสอบจากเหตุผลอื่น ๆ 5 กรณี
การติดตามผลการคุ้มครองสิทธิ พบว่า มีการชะลอการด าเนินการ 14 กรณี มีการตรวจสอบและ
ั
ั
บรรเทาปญหา 5 กรณี มีการแก้ไขปญหาอย่างดี 3 กรณี และไม่สามารถติดตามผลได้ 3 กรณี
ั
มลพิษจากอุตสาหกรรม เกิดปญหามลพิษจากโรงงานอุตสาหกรรม โรงงานขนาดเล็ก
อุตสาหกรรมแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร ฟาร์มเลี้ยง
ผู้ถูกร้อง ได้แก่ การนิคมอุตสาหกรรม รัฐบาล ส านักงานอุตสาหกรรมจังหวัด กรมโรงงาน
อุตสาหกรรม ส านักงานปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม จังหวัด กรมธุรกิจพลังงาน
หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ การนิคมอุตสาหกรรม รัฐบาล กระทรวงมหาดไทย
คณะกรรมการผังเมือง บริษัท ส านักงานอุตสาหกรรมจังหวัด กรมโรงงานอุตสาหกรรม กรม
ควบคุมมลพิษ ส านักงานปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม ส านักงานนโยบายและแผน
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม จังหวัด องค์การบริหารส่วนต าบล
ั
สามารถจ าแนกเป็นประเด็นปญหาหลัก ๆ ได้อย่างน้อย 2 ประเด็น คือ 1) ผลกระทบมลพิษ 20
ั
กรณี 2) ปญหาในการพัฒนาพื้นที่กับชุมชน 1กรณี
ั
ั่
คณะอนุกรรมการสิทธิในทรัพยากรน ้า ชายฝง แร่ และสิ่งแวดล้อม ได้เสนอมาตรการแก้ไขปญหา
ั
ให้กับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเอาไว้ทั้งหมด 3 แนวทาง คือ 1) ให้ยุติโครงการ 1 กรณี 2) ให้แก้ไขปญหาความ
เดือดร้อน เช่น ขอให้จ่ายค่าชดเชยต่อผู้ได้รับผลกระทบจากการก่อสร้างโครงการ ขอให้ปฏิบัติตามเงื่อนไขท้าย
ใบอนุญาตท าเหมือง ขอให้ด าเนินการฟื้นฟูสภาพแวดล้อม ขอให้หน่วยงานเอาผิดด าเนินคดีกับเจ้าของโครงการ 17
ั
กรณี 3) ให้ยุติการตรวจสอบจากเหตุผลอื่น ๆ เช่น ให้แก้ไขปญหามลพิษที่เกิดจากโรงงานอุตสาหกรรม ให้
ด าเนินการปฏิบัติตามเงื่อนไขท้ายใบอนุญาต ให้หน่วยงานเอาผิดกับผู้ประกอบการที่ก่อให้เกิดการละเมิดสิทธิ 3
กรณี
การติดตามผลการคุ้มครองสิทธิ พบว่า มีการชะลอการด าเนินการ 1 กรณี มีการตรวจสอบและ
ั
ั
บรรเทาปญหา 15 กรณี มีการแก้ไขปญหาอย่างดี 1 กรณี และไม่สามารถติดตามผลได้ 3 กรณี
ั
ั
การจัดการสิ่งแวดล้อมอื่นๆ เกิดปญหามลพิษจากการจัดการขยะ ทั้งเรื่องที่กลบฝง เตาเผา
ขยะ และการขนส่ง ปศุสัตว์ มลพิษทางเสียงจากการก่อสร้างสนามบินสุวรรณภูมิ
ผู้ถูกร้อง ได้แก่ จังหวัด กรมปศุสัตว์ กรมควบคุมมลพิษ ส านักงานนโยบายและแผน
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม รัฐบาล
หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ จังหวัด ส านักงานอุตสาหกรรมจังหวัด กรมปศุสัตว์ จังหวัด กรม
ควบคุมมลพิษ องค์การบริหารส่วนต าบล ส านักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติ
และสิ่งแวดล้อม เทศบาลเมือง รัฐบาล บริษัทท่าอากาศยานไทย จ ากัด มหาชน กระทรวง
สาธารณสุข กรมโรงงานอุตสาหกรรม เทศบาลนคร
ั
สามารถจ าแนกเป็นประเด็นปญหาหลัก ๆ ได้อย่างน้อย 2 ประเด็น คือ 1) ผลกระทบมลพิษ 12
ั
กรณี 2) ความขัดแย้งปญหาในการพัฒนาพื้นที่กับชุมชน 7 กรณี
66