Page 140 - การรวบรวมและวิเคราะห์เปรียบเทียบ รายงานตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชนของคณะอนุกรรมการสิทธิในทรัพยากรน้ำ ชายฝั่ง แร่ และสิ่งแวดล้อม ในคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ (พ.ศ. 2545 - 2550) : (รายงานหลัก)
P. 140

  พรบ.โบราณสถาน โบราณวัตถุฯ มาตรา 4,7,10,32 คุ้มครองโบราณสถานจากการท าเหมือง

                         พรบ. โรงงาน มาตรา 12, 15, 50,65 ควบคุมมลภาวะจากการประกอบการท่าโกรกทราย การขุดดิน ดูด
                          ทราย  โรงงานอุตสาหกรรมต่างๆ
                         พรบ.สาธารณสุข มาตรา 25,26,27,28,31,32,33,73 คุ้มครองเหตุเดือดร้อนร าคาญจากกิจกรรมทุก

                          ประเภทที่อาจก่อให้เกิดผลกระทบต่อสุขภาพ
                         พรบ. แร่ (2545) มาตรา 88/6, 88/9, 88/10, 88/11 กลไกการมีส่วนร่วมของประชาชน, ประกาศกระทรวง

                          อุตสาหกรรม ตามมาตรา 88/6 และ 88/9/10/11 เงื่อนไขและกลไกการมีส่วนร่วมของประชาชนในโครงการ
                          เหมืองแร่ใต้ดิน
                         พรบ.ขุดดินถมดิน มาตรา 17,20,24,29 ตรวจสอบผู้ประกอบการเมื่อเกิดผลกระทบต่อพื้นดินและอาคาร
                          ใกล้เคียง

                         กฎกระทรวงก าหนดมาตรการป้ องกันการพังทลายของดินและสิ่งปลูกสร้าง ตรวจสอบผู้ประกอบการ
                          เมื่อเกิดผลกระทบต่อพื้นดินและอาคารใกล้เคียง

                         พรบ. เดินเรือในน่านน ้าไทย (พ.ศ.2456) มาตรา 129,130   ตรวจสอบผู้ประกอบการดูดทรายในแม่น ้า
                          เมื่อเกิดผลกระทบต่อพื้นดินและอาคารใกล้เคียง
                         ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการอนุญาตให้ดูดทราย (พ.ศ.2546)   ตรวจสอบผู้ประกอบการดูด
                          ทรายในแม่น ้าเมื่อเกิดผลกระทบต่อพื้นดินและอาคารใกล้เคียง

                         พรบ. ผังเมือง มาตรา 19,24,26 สิทธิของผู้มีส่วนได้เสีย ที่จะมีส่วนร่วมในการทักท้วงการก าหนดผังเมือง
                          เพื่อใช้พื้นที่พัฒนาโครงการที่ส่งผลกระทบต่อวิถีชีวิต


                   5.3 องค์ความรู้ในวิธีการปฏิบัติหน้าที่ของคณะอนุกรรมการ
                          ในการตรวจสอบคณะอนุกรรมการฯได้ด าเนินการ ด้วยการพิจารณาจากข้อมูลการร้องเรียนของผู้ร้องใน

                   เบื้องต้น แล้วเรียกให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องไม่ว่าจะเป็น ภาครัฐ ภาคเอกชน ชี้แจงด้วยเอกสาร มีการลงพื้นที่เพื่อ
                                          ั
                   ตรวจสอบข้อมูลและดูสภาพปญหาที่เกิดข้อร้องเรียน และจัดให้มีการประชุมชี้แจงด้วยวาจาโดยหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
                   ไม่ว่ารัฐ หรือเอกชน ทั้งที่เป็นผู้ถูกร้อง ผู้มีหน้าที่เกี่ยวข้องกับกรณีร้องเรียน และเปิดโอกาสให้ผู้ร้องเรียนได้เข้าร่วม
                            ั
                   ในการรับฟงการตรวจสอบรวมทั้งให้ข้อมูลเพิ่มเติม อันเป็นการด าเนินการเพื่อให้ได้รับข้อมูลอย่างครบถ้วนและรอบ
                   ด้าน
                                                                                       ั่
                          จากการศึกษารวบรวมข้อมูลพบว่า คณะอนุกรรมการสิทธิในทรัพยากรน ้า ชายฝง แร่ และสิ่งแวดล้อม ได้มี
                   การน าเอาข้อมูลข้อเท็จจริงตามเอกสารจากผู้ร้องเรียน หน่วยงานที่ถูกร้องเรียน หน่วยงานที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับกรณี
                   ร้องเรียน และเอกสารประกอบทางวิชาการที่เกี่ยวข้องกับกรณีร้องเรียน การลงพื้นที่ตรวจสอบข้อเท็จจริง การเชิญให้
                   บุคคลที่เกี่ยวข้องมาให้ข้อมูลเพิ่มเติมด้วยวาจา มาพิจารณาประกอบกับองค์ความรู้ของคณะอนุกรรมการในทาง
                                                                                                  ั
                   กฎหมายและทางหลักสิทธิมนุษยชน ท าให้การพิจารณาให้ความเห็นและก าหนดมาตรการการแก้ไขปญหาเป็นไป
                                                                                  ั่
                   โดยสอดคล้องและเป็นธรรม อีกทั้ง คณะอนุกรรมการสิทธิในทรัพยากรน ้า ชายฝง แร่ และสิ่งแวดล้อม เป็นบุคคล
                                                                                      ั่
                   ที่มาจากหลากหลายอาชีพ และมีองค์ความรู้เฉพาะทางในประเด็นทรัพยากรน ้า ชายฝง แร่ และสิ่งแวดล้อม ท าให้
                   เห็นถึงศักยภาพของการท างานของคณะอนุกรรมการที่ชัดเจนและเข้มแข็ง
                                 ดังนั้น การก าหนดแต่งตั้งคณะอนุกรรมการจึงมีความส าคัญยิ่งในการปฏิบัติงาน โดยจะต้องมีการ
                   แต่งตั้งบุคลากรที่มีความรู้ความช านาญเฉพาะทางเข้ามาเป็นองค์ประกอบของคณะอนุกรรมการ และ

                   คณะอนุกรรมการต้องมีองค์ความรู้ทั้งในเชิงข้อเท็จจริง ข้อกฎหมาย และหลักการทางสิทธิมนุษยชน การตรวจสอบ
                   จึงจะเป็นไปด้วยความถูกต้อง เป็นธรรม และมีผลที่เป็นจริงได้



                                                              124
   135   136   137   138   139   140   141   142   143   144   145