Page 139 - การรวบรวมและวิเคราะห์เปรียบเทียบ รายงานตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชนของคณะอนุกรรมการสิทธิในทรัพยากรน้ำ ชายฝั่ง แร่ และสิ่งแวดล้อม ในคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ (พ.ศ. 2545 - 2550) : (รายงานหลัก)
P. 139

  หมวด 5  (5)  นโยบายพื้นฐานแห่งรัฐ   ได้แก่ มาตรา 85  (79,84)  นโยบายที่ดิน

                   ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
                                       หมวด 14  (9) การปกครองส่วนท้องถิ่น ได้แก่ มาตรา 290  (290)  หน้าที่รักษา
                   สิ่งแวดล้อมขององค์กรท้องถิ่น

                   5.2 องค์ความรู้ในการใช้กฎหมายเพื่อคุ้มครองสิทธิ

                                                                                       ั่
                                 จากการศึกษาพบว่า คณะอนุกรรมการสิทธิในทรัพยากรน ้า ชายฝง แร่ และสิ่งแวดล้อม ได้
                   พยายามใช้กฎหมายที่เกี่ยวข้องเกี่ยวกับกรณีต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นกฎหมายที่ให้อ านาจและก าหนดหน้าที่ให้หน่วยงาน
                   รัฐด าเนินการตามกฎหมาย เช่น พระราชบัญญัติชลประทานหลวง พระราชบัญญัติแร่ เป็นต้น กฎหมายที่ก าหนดให้
                                                                                     1
                   มีการคุ้มครองสิ่งแวดล้อม เช่น พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม  อันเป็นการพยายามใช้หลัก
                                                              ั
                   กฎหมายที่มีอยู่ให้มีประสิทธิภาพ ดังนั้น จะเห็นได้ว่าปญหาการละเมิดสิทธิมนุษยชนในฐานทรัพยากรส่วนใหญ่ที่
                   เกิดขึ้น เกิดจากการละเลยการไม่ใช้อ านาจหน้าที่ของหน่วยงานรัฐในการด าเนินการให้อนุญาตแก่ผู้ประกอบการก่อน
                   ริเริ่มโครงการ การละเลยหรือไม่ปฏิบัติหน้าที่ของหน่วยงานที่ไม่เข้าควบคุมก ากับดูแลในระหว่างการประกอบกิจการ
                   การละเลยไม่ยอมปฏิบัติตามกฎหมายของผู้ประกอบการ ตารางที่ 5.1 แสดงบทบัญญัติที่ คณะอนุกรรมการฯอ้างถึง
                                                                                                   2
                                                                                      ั
                   และใช้เป็นหลักเกณฑ์ในการวินิจฉัย โดยข้อกฎหมายที่ส าคัญที่มักถูกอ้างถึงในประเด็นปญหาต่างๆได้แก่
                         พรบ. ชลประทานหลวง มาตรา 4,5,35 การควบคุมมิให้ชักน ้าเมื่อเป็นเหตุก่อความเสียหาย ในกรณีการ

                          ร้องเรียนในเรื่องการแย่งชิงน ้า
                         ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1304,1374 สาธารณะสมบัติของแผ่นดิน และทรัพย์สิน
                          ส าหรับพลเมืองใช้ร่วมกัน อ้างถึงในกรณีเกี่ยวกับการอ้าวสิทธิของเอกชนในพื้นที่ใช้ประโยชน์ร่วมกันของ
                          ชุมชน

                         กฎกระทรวง ฉบับ 55 (พ.ศ. 2543) ออกตามความในพรบ. ควบคุมอาคาร ควบคุมระยะห่างจากแหล่ง
                                                                              ั่
                          น ้าสาธารณะและทะเล ในกรณีตรวจสอบการสร้างอาคารรุกล ้าชายฝง
                         ประกาศกระทรวงทรัพยากรฯ ควบคุมพื้นที่ประสบธรณีพิบัติสึนามิฯ- ประมวลกฎหมายที่ดิน
                                                                                   ้
                          มาตรา 20 (4) สงวนที่ดินของรัฐเพื่อให้ประชาชนใช้ประโยชน์ร่วมกัน เพื่อปองกันมิให้โครงการท่าเทียบเรือ
                                                                         ั่
                          หรือ โครงการพัฒนาอื่นๆที่จะมีผลกระทบต่อทรัพยากรชายฝง
                         พรบ. อุทยานแห่งชาติ มาตรา 6 คุ้มครองที่ดินกรรมสิทธิ์บุคคล ใช้ยืนยันสิทธิของที่ดินทับซ้อนกับเขต

                          อุทยานแห่งชาติ
                         ประมวลกฎหมายที่ดิน มาตรา 20 (4) สงวนที่ดินของรัฐเพื่อให้ประชาชนใช้ประโยชน์ร่วมกัน อ้างถึงใน

                          กรณีเกี่ยวกับการอ้าวสิทธิของเอกชนในพื้นที่ใช้ประโยชน์ร่วมกันของชุมชน และสงวนที่ดินของรัฐเพื่อให้
                                                      ้
                          ประชาชนใช้ประโยชน์ร่วมกัน เพื่อปองกันมิให้โครงการท่าเทียบเรือ หรือ โครงการพัฒนาอื่นๆที่จะมี
                                                 ั่
                          ผลกระทบต่อทรัพยากรชายฝง
                         พรบ. แร่ มาตรา 73 (3) มิให้สิทธิผู้ถือประทานบัตรครอบครองที่ดิน กรณีมีการอ้างสิทธิจากผู้ประกอบการ
                          ในพื้นที่เหมืองแร่เก่าที่เคยได้รับประทานบัตรในอดีต

                         พรบ. แร่ มาตรา 6 จัตวา, 9 ทวิ, 9 ตรี, 11,49, 57, 71 ควบคุมการท าเหมืองเพื่อไม่เกิดผลกระทบ
                          สิ่งแวดล้อมมากเกินไป


                   1
                     โปรดดูภาคผนวก 1 หมวดกฎหมายที่เกี่ยวข้อง



                                                              123
   134   135   136   137   138   139   140   141   142   143   144