Page 116 - การรวบรวมและวิเคราะห์เปรียบเทียบ รายงานตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชนของคณะอนุกรรมการสิทธิในทรัพยากรน้ำ ชายฝั่ง แร่ และสิ่งแวดล้อม ในคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ (พ.ศ. 2545 - 2550) : (รายงานหลัก)
P. 116
ตารางที่ 4.4 ตัวอย่างบางส่วนของรายงานที่แสดงถึงสิทธิในชีวิต และสิทธิในสุขภาพอนามัย
เรื่อง : สิทธิชุมชน กรณีปัญหาการก่อสร้างท่าเทียบเรือขนทรายในพื้นที่ต าบลป่าโมก อ าเภอป่าโมก จังหวัดอ่างทอง
ความเป็นมา : ตามที่ได้ปรากฏเป็นข่าวในสื่อมวลชนว่า นายประโยชน์ เฉลิมกลิ่น ได้ร้องเรียนต่อนายกรัฐมนตรีและหน่วยงาน
ต่างๆ ที่เกี่ยวข้องว่า นางพักตร์วิภา เฉลิมกลิ่น ซึ่งเป็นภรรยาของนายประโยชน์ เฉลิมกลิ่น ได้ถูกคนร้ายลอบยิงจนเสียชีวิตเมื่อ
่
่
วันที่ ๑๔ ตุลาคม ๒๕๔๗ ณ บริเวณชุมชนย่อยที่ ๗ บ้านหัวกระบือ ต าบลปาโมก อ าเภอปาโมก จังหวัดอ่างทอง ซึ่งนาย
ประโยชน์ เฉลิมกลิ่น สันนิษฐานว่า สาเหตุน่าจะมาจากการที่ผู้ตายเป็นหนึ่งในแกนน าต่อสู้คัดค้านการก่อสร้างท่าทรายและการ
ดูดทรายในบริเวณชุมชนบ้านหัวกระบือ........
ความเห็น : คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติมีความเห็นดังนี้
การต่อสู้เพื่อรักษาสภาพแวดล้อมของนางพักตร์วิภาฯ เป็นการกระท าที่มีคุณค่าสมควรยกย่อง อันเป็น
การแสดงถึงการรักษาสิทธิของตนเองและชุมชน การเสียชีวิตของนางพักตร์วิภาฯ เป็นเหตุสะเทือนขวัญ ผู้รับผิดชอบคดีต้อง
ติดตามจับกุมผู้กระท าความผิดมาด าเนินคดีตามกฎหมายให้ได้โดยเร็ว เพื่อความเป็นธรรมแก่ครอบครัวนางพักตร์วิภาฯ และท า
ให้ราษฎรรู้สึกปลอดภัยจากการข่มขู่ คุกคาม
จากการตรวจสอบสภาพพื้นที่ คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติมีความเห็นสอดคล้องกับเทศบาล
่
่
ต าบลปาโมก อ าเภอปาโมก จังหวัดอ่างทอง ที่จะรักษาพื้นที่ที่นางพักตร์วิภาฯ ได้ต่อสู้คัดค้านการก่อสร้างท่าโกรกทราย ไว้เป็น
แหล่งท่องเที่ยวเชิงศึกษาวิถีชีวิตถิ่นไทย
ั
จากกรณีปญหาท่าโกรกทรายที่เกิดขึ้น เป็นตัวอย่างที่ท าให้เห็นว่ากิจการท่าโกรกทรายเป็นกิจการซึ่งสร้าง
ั
ปญหาต่อสภาพแวดล้อม ความสงบสุข และสุขภาพอนามัยของชุมชน รวมถึงเป็นกิจการที่ก่อให้เกิดความแตกแยกในชุมชน
เห็นควรหาแนวทางให้เป็นกิจการที่ต้องควบคุมการด าเนินการทั้งในเรื่องการก าหนดเขตพื้นที่ (Zoning) และกระบวนการ
ประกอบกิจการ โดยเร่งด่วน
นอกจากนี้ กระบวนการพิจารณาของคณะกรรมการพิจารณาการก่อสร้างสิ่งล่วงล ้าล าน ้าจังหวัดอ่างทอง มี
ลักษณะเร่งรีบอย่างผิดสังเกต .........................................
ข้อ ๔ มาตรการการแก้ไขปัญหา
ั
คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติมีมาตรการการแก้ไขปญหาต่อส านักงานต ารวจแห่งชาติ เทศบาล
่
ต าบลปาโมก จังหวัดอ่างทอง กรมขนส่งทางน ้าและพาณิชยนาวี กรมโรงงานอุตสาหกรรม กรมโยธาธิการและผังเมือง และ
ส านักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ดังนี้
๔.๑ ให้ส านักงานต ารวจแห่งชาติ เร่งรัดและก ากับดูแลให้มีการติดตามหาผู้กระท าความผิดกรณีการ
สังหารนางพักตร์วิภา เฉลิมกลิ่น โดยเร็ว และมีรายงานความคืบหน้าในการด าเนินการให้แก่ชุมชนรับทราบเป็นระยะ ภายใน
ระยะเวลา ๓๐ วัน นับแต่วันที่ได้รับรายงานฉบับนี้
่
ั่
๔.๒ ให้เทศบาลต าบลปาโมก หาแนวทางออกเทศบัญญัติเพื่อรักษาพื้นที่ริมฝงแม่น ้าเจ้าพระยาในเขตพื้นที่
่
เทศบาลต าบลปาโมก เป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงศึกษาวิถีชีวิตถิ่นไทย ภายในระยะเวลา ๖๐ วัน นับแต่วันที่ได้รับรายงานฉบับนี้
๔.๓ ให้จังหวัดอ่างทอง ประสานงานกับกรมขนส่งทางน ้าและพาณิชยนาวี กรมโรงงานอุตสาหกรรม กรม
โยธาธิการและผังเมือง หาแนวทางก าหนดให้การประกอบกิจการท่าเทียบเรือขนถ่ายดินทราย เป็นกิจการที่ต้องควบคุมการ
ด าเนินการทั้งในเรื่องการก าหนดเขตพื้นที่ (Zoning) และปรับปรุงกระบวนการประกอบกิจการให้มีกระบวนการมีส่วนร่วมของ
ชุมชนและเพิ่มมาตรการควบคุมดูแลสภาพแวดล้อม
๔.๔ ให้ส านักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม หยิบยกกรณีท่าเทียบเรือขนถ่าย
ั
ั่
ดินทรายบริเวณริมฝงแม่น ้าเจ้าพระยาในจังหวัดอ่างทอง มาศึกษาเพื่อหาแนวทางแก้ปญหาผลกระทบสิ่งแวดล้อมสะสม
100