Page 378 - กฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้องกับคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2567)
P. 378
4
ข้อ ๗ ส านักส่งเสริมการเคารพสิทธิมนุษยชน มีขอบเขตหน้าที่และอ านาจ ดังนี้
(๑) พัฒนาระบบ มาตรการและกลไกเกี่ยวกับการส่งเสริมและเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับสิทธิ
มนุษยชนตามกฎหมาย รัฐธรรมนูญ รวมทั้งพันธกรณีที่ประเทศไทยต้องยึดถือปฏิบัติตามกติการะหว่าง
ประเทศและอนุสัญญา
(๒) ส่งเสริมสนับสนุนและสร้างการรับรู้ ความเข้าใจและตระหนักถึงความส าคัญของสิทธิ
มนุษยชนของบุคคลและการเคารพในสิทธิมนุษยชนของบุคคลอื่น และให้เกิดความร่วมมือ การเคารพ
และการปฏิบัติตามหลักสิทธิมนุษยชนของทุกภาคส่วนของสังคม
(๓) ส่งเสริม พัฒนาความร่วมมือและสร้างความเข้มแข็งระบบเครือข่ายด้านสิทธิมนุษยชนทั้ง
ภาครัฐ ภาคเอกชน สถาบันการศึกษา ชุมชน ท้องถิ่น และภาคประชาสังคมให้เกิดการคุ้มครองและ
พิทักษ์สิทธิมนุษยชน
(๔) ด าเนินการเกี่ยวกับการสื่อสารสาธารณะเพื่อสร้างความรู้ ความเข้าใจ และเห็นคุณค่า การ
เคารพ และการปฏิบัติตามหลักสิทธิมนุษยชน
(๕) เสริมสร้างความสัมพันธ์และความเข้าใจอันดีแก่สาธารณชนในภาพลักษณ์ บทบาท ภารกิจ
และกิจกรรมของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติและส านักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชน
แห่งชาติ
(๖) พัฒนาองค์ความรู้ จัดท าเอกสารวิชาการ ผลิตสื่อ รณรงค์ และเผยแพร่ความรู้ด้านสิทธิ
มนุษยชน
(๗) ด าเนินการเกี่ยวกับงานโฆษกของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ รวมทั้งประสานและ
อ านวยความสะดวกแก่สื่อมวลชนในการเผยแพร่ข่าว การแถลงข่าว และการให้สัมภาษณ์ของ
คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
(๘) ร่วมปฏิบัติงานหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องหรือตามที่ได้รับ
มอบหมาย
ข้อ ๘ ส านักรับเรื่องร้องเรียนและประสานการคุ้มครองสิทธิมนุษยชน มีขอบเขตหน้าที่และ
อ านาจ ดังนี้
(๑) ด าเนินการเกี่ยวกับการรับเรื่องร้องเรียนการละเมิดสิทธิมนุษยชน รวมทั้งให้ค าปรึกษา
แนะน าแก่ผู้มาร้องเรียน
(๒) กลั่นกรองและตรวจสอบเพื่อหาข้อมูล ข้อเท็จจริง และหลักฐานเกี่ยวกับเรื่องร้องเรียน และ
วิเคราะห์ เสนอความเห็นเพื่อเสนอให้คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ คณะท างานพิจารณา
(๓) ด าเนินการเกี่ยวกับการประสานการคุ้มครองสิทธิมนุษยชน
(๔) ด าเนินการฝ่ายเลขานุการสนับสนุนการประชุมคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติด้าน
การคุ้มครองสิทธิมนุษยชน คณะท างานด้านการกลั่นกรองเรื่องร้องเรียน และคณะท างานด้านการ
367