Page 347 - กฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้องกับคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2567)
P. 347

๖


                           ข้อ  ๒๘ รถส่วนกลางทุกคันให้มีภาพเครื่องหมายราชการของส านักงาน  และให้มีอักษรชื่อ

                  “ส านักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ”  หรืออักษรชื่อย่อ  “ส านักงาน กสม.”  โดยมีขนาดที่

                  บุคคลทั่วไปสามารถมองเห็นได้ชัดเจนไว้ภายนอกรถ
                           ภาพเครื่องหมายราชการและอักษรชื่อหรืออักษรชื่อย่อในวรรคหนึ่งให้ใช้สีที่สามารถมองเห็นได้

                  ชัดเจน  ในกรณีที่มีการจ าหน่ายรถส่วนกลางให้ส านักงานลบหรือท าลายภาพเครื่องหมายราชการและ

                  อักษรชื่อหรืออักษรชื่อย่อออกทั้งหมดก่อนที่จะส่งมอบรถส่วนกลางให้กับบุคคลอื่น

                           กรณีที่ส านักงานมีเหตุผลและความจ าเป็นซึ่งเห็นว่า  การมีภาพเครื่องหมายราชการและอักษร

                  ชื่อหรืออักษรชื่อย่ออาจไม่ปลอดภัยแก่ผู้ใช้รถหรือไม่เหมาะสมแก่การปฏิบัติงานให้ขออนุมัติต่อ
                  เลขาธิการเพื่อขอยกเว้นการมีภาพเครื่องหมายราชการและอักษรชื่อหรืออักษรชื่อย่อได้


                           ข้อ  ๒๙ ให้เลขาธิการมีอ านาจพิจารณาท าสัญญาประกันภัยรถส่วนกลางได้ตามความจ าเป็น


                  และเหมาะสม

                           ข้อ  ๓๐ การน ารถส่วนกลางไปใช้ในลักษณะรถประจ าต าแหน่งจะกระท ามิได้  เว้นแต่กรณีที่

                  รถประจ าต าแหน่งของผู้ด ารงต าแหน่งผู้ใดต้องเข้ารับการซ่อมแซมหรือซ่อมบ ารุงเป็นเวลาเกินกว่าสามวัน

                  ผู้นั้นอาจขออนุญาตยืมรถส่วนกลางไปใช้ในลักษณะรถประจ าต าแหน่งเป็นการชั่วคราวได้  และในกรณี

                  เช่นนี้ให้ผู้ใช้รถคันดังกล่าวเป็นผู้จ่ายค่าเชื้อเพลิง  และให้น าความในข้อ  ๑๙  และข้อ  ๒๐  มาใช้บังคับ

                  กับการสูญหายหรือความเสียหายที่เกิดขึ้นกับรถคันนั้นในระหว่างนั้นโดยอนุโลม

                           ข้อ  ๓๑ ให้ส านักงานจัดให้มีบันทึกการใช้รถส่วนกลางประจ ารถแต่ละคันตามแบบ  ร.๗


                  ท้ายระเบียบนี้

                           ข้อ  ๓๒ การเก็บรักษารถส่วนกลาง  ให้เก็บรักษาไว้  ณ  สถานที่ที่ส านักงานก าหนด  เว้นแต่

                  ในกรณีที่มีเหตุจ าเป็นเลขาธิการอาจอนุญาตให้น ารถไปเก็บรักษาที่อื่นเป็นการชั่วคราวหรือเป็นครั้งคราวได้

                           การน ารถส่วนกลางไปเก็บรักษาที่อื่นตามวรรคหนึ่ง  ผู้รับผิดชอบในการเก็บรักษารถคันนั้น

                  ต้องจัดท าค าขออนุญาต  โดยแสดงเหตุจ าเป็นและรายละเอียดของสถานที่ที่จะน ารถคันดังกล่าวไป


                  เก็บรักษาซึ่งแสดงให้เห็นได้อย่างชัดเจนว่ามีความปลอดภัยเพียงพอ  เพื่อประกอบการพิจารณาด้วยทุกครั้ง

                           ข้อ  ๓๓ เมื่อเกิดการสูญหายหรือความเสียหายขึ้นกับรถส่วนกลาง  ให้เจ้าหน้าที่ขับรถหรือ
                  ผู้รับผิดชอบในการเก็บรักษารถตามข้อ  ๓๒  แล้วแต่กรณี  รายงานต่อผู้บังคับบัญชาตามล าดับจนถึง

                  เลขาธิการเพื่อทราบในทันที  และให้น าความในข้อ  ๑๘  มาใช้บังคับกับการจัดท ารายงานการสูญหาย

                  และรายงานความเสียหายโดยอนุโลม

                           ให้ส านักงานด าเนินการหาตัวผู้รับผิดชดใช้ค่าสินไหมทดแทนส าหรับการสูญหายหรือความ
                  เสียหายที่เกิดขึ้นกับรถส่วนกลาง  ในกรณีที่รถคันนั้นได้ท าสัญญาประกันภัยไว้  ให้พิจารณาเฉพาะส่วน







                                                                                                                336
   342   343   344   345   346   347   348   349   350   351   352