Page 24 - สรุปผลการดำเนินงานโครงการจัดงานวันสตรีสากล 8 มีนาคม หัวข้อ การประกาศเกียรติยศสตรีนักปกป้องสิทธิมนุษยชน ประจำปี 2562
P. 24

ที่ผ่านมา กลุ่มรักษ์น�้าอูนได้ติดตามตรวจสอบการด�าเนินโครงการก่อสร้างโรงงาน
                ผลิตน�้าตาลและโรงไฟฟ้าชีวมวลมาอย่างต่อเนื่อง โดยได้ยื่นเรื่องร้องเรียนไปยัง
                คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง รวมถึงส�านักงาน

                อุตสาหกรรมจังหวัดสกลนคร องค์การบริหารส่วนต�าบลอุ่มจาน ส�านักงานนโยบาย
                และแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม  (สผ.)  ให้มีการตรวจสอบโครงการฯ
                ดังกล่าวที่อาจมีผลกระทบต่อประชาชน อีกทั้งได้ร้องขอใช้สิทธิตามมาตรา ๑๑ ของ
                พระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๐ ให้มีการด�าเนินการศึกษาประเมินผล
                กระทบด้านสุขภาพโดยชุมชน ในพื้นที่นิเวศวัฒนธรรมชุมชนลุ่มน�้าอูน กรณีโครงการ
                โรงงานน�้าตาลที่มีก�าลังผลิต ๑๒,๕๐๐ - ๔๐,๐๐๐ ตันอ้อยต่อวัน และโรงไฟฟ้าชีวมวล
                ขนาด ๔๐ - ๑๑๔ เมกะวัตต์
                      กระบวนการต่อสู้ของกลุ่มรักษ์น�้าอูนด�าเนินการโดยมี “เครือข่ายผู้หญิง”
                เป็นก�าลังหลักส�าคัญ  เหตุที่เป็นเช่นนั้นเนื่องมาจากผู้ชายส่วนใหญ่ในชุมชนต้องออก

                ไปท�างานนอกพื้นที่เพื่อหารายได้ ผู้หญิงจึงมีบทบาทมากขึ้นในการที่จะต้องลุกขึ้น
                มาปกป้องสิทธิชุมชนเพื่อปกป้องบ้านเกิดของตนเอง
                      การท�างานของเครือข่ายผู้หญิงกลุ่มรักษ์น�้าอูน ท�าหน้าที่ทั้งการประสานงาน
                การค้นคว้าหาข้อมูล รวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวกับการก่อตั้งโรงงานผลิตน�้าตาล
                การติดตามรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม การยื่นหนังสือต่อหน่วยงาน
                ที่เกี่ยวข้อง  การยื่นฟ้องต่อศาลปกครองเพิกถอนใบอนุญาตโรงงาน  และรายงาน
                การวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA) เพื่อคุ้มครองปกป้องระบบนิเวศ และวิถีชุมชน

                ของชาวบ้าน ในระหว่างการต่อสู้ ผู้หญิงหลายคนถูกติดตามคุกคามอย่างต่อเนื่องจาก
                เจ้าหน้าที่หน่วยงานความมั่นคง  และเจ้าหน้าที่ของรัฐบางฝ่าย  เช่น  การโทรศัพท์
                มาหา การติดตามมาหาที่บ้าน หรือแม้กระทั่งการฟ้องร้องเพื่อให้ชาวบ้านเกิดความกลัว
                ไม่กล้าแสดงความคิดเห็น และไม่กล้าออกมาเคลื่อนไหวต่อไป เป็นต้น
                      จากการร้องเรียนต่อหน่วยงานต่าง ๆ เพื่อให้ตรวจสอบการด�าเนินการของ
                บริษัทเอกชนที่ด�าเนินการบุกเบิกพื้นที่ป่าและปรับพื้นที่จนท�าให้ถนนและล�าห้วยสาธารณะ
                เสียหาย บริษัทเอกชนเห็นว่า การร้องเรียนของชาวบ้านท�าให้บริษัทเสียชื่อเสียง




                                                การประกาศเกียรติยศผู้หญิงนักปกป้องสิทธิมนุษยชน ประจ�าปี ๒๕๖๒ ๒๓



        01-96_ok.indd   23                                                   29/8/2562   14:05:20
   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29