Page 16 - สรุปผลการสัมมนา เรื่อง ธุรกิจท่องเที่ยวและการโรงแรมกับการเคารพสิทธิมนุษยชน ตามหลักการชี้แนะของสหประชาชาติ ตามกรอบงานขององค์การสหประชาชาติ ในการคุ้มครอง เคารพ และเยียวยา : วันที่ 17 มิถุนายน 2559 ณ โรงแรมกะตะบีช รีสอร์ทแอนด์ สปา จังหวัดภูเก็ต
P. 16

15



                           กสม. คำดหวังเป็นอย่ำงยิ่งว่ำ ในกำรสัมมนำในวันนี้ จะท ำให้ผู้เข้ำร่วมได้รับควำมรู้เรื่องหลักกำร
               UNGPs ซึ่งภำคธุรกิจสำมำรถน ำไปใช้ในกำรด ำเนินธุรกิจของตน และผลักดันให้ภำคธุรกิจพันธมิตรหรือธุรกิจ

               ในเครือข่ำยห่วงโซ่อุปทำนของตนน ำหลักกำรดังกล่ำวไปใช้ เพื่อป้องกันและก ำจัดสำเหตุที่เป็นกำรล่วงละเมิด

               สิทธิมนุษยชนได้อย่ำงเป็นระบบ ซึ่งย่อมก่อให้เกิดควำมยั่งยืนของอุตสำหกรรมกำรท่องเที่ยว กำรพัฒนำ
               เศรษฐกิจ และควำมอยู่ดีกินดีของประชำชนชำวไทยในที่สุด


               ๗. การฉายวีดีทัศน์ เรื่อง The UN Guiding Principles on Business and Human Rights: An Introduction


               จัดท าโดย Mike Baab

                           คณะผู้จัดงำนฯ ได้น ำเสนอวิดีทัศน์เรื่อง The UN Guiding Principles on Business and

               Human Rights: An Introduction จัดท ำโดย Mike Baab ซึ่งได้อนุญำตให้เผยแพร่ต่อได้ภำยใต้ชุดของสัญญำ

               อนุญำตแบบเปิดกว้ำง (Creative Commons) โดยวิดีทัศน์ดังกล่ำวมีเนื้อหำดังนี้

                           ธุรกิจ มีผลกระทบต่อสิทธิมนุษยชน ไม่ว่ำจะด ำเนินธุรกิจที่ไหนและอย่ำงไร ผลกระทบนี้ อำจะมี

               ทั้งทำงบวกหรือทำงลบทุกวันนี้ บริษัทต่ำงๆ ด ำเนินกำรไปทั่วโลก นั่นก็หมำยควำมว่ำ ก็อำจเกิดผลกระทบไป

               ทั่วโลกเช่นกัน บริษัทต่ำงๆ ด ำเนินกำรในประเทศที่ยำกจน ประเทศที่เพิ่งผ่ำนควำมขัดแย้ง ประเทศที่รัฐบำล

               ท้องถิ่นไม่สำมำรถหรือไม่สนใจที่จะบังคับใช้กฎหมำยของตน เพรำควำมยุ่งยำกเหล่ำนี้ จึงท ำให้ไม่สำมำรถชี้ชัด
               ได้ว่ำ “ใคร” ที่มีควำมรับผิดชอบในกำรป้องกันไม่ให้บริษัทธุรกิจละเมิดสิทธิมนุษยชน เป็นควำมผิดของบริษัท

               ที่จ่ำยค่ำแรงน้อยกว่ำที่จะด ำรงชีพได้ หรือเป็นควำมผิดของรัฐบำลที่ก ำหนดค่ำจ้ำงขั้นต่ ำกว่ำเส้นควำมยำกจน

               เหยื่อที่ถูกละเมิดสิทธิมนุษยชนจำกธุรกิจพบว่ำตนเองติดอยู่ในกับดักระหว่ำง สองฝ่ำย ที่ไม่สนใจที่จะแก้ไขใน

               สิ่งที่ถูกต้อง

                           ในปี 2011 องค์กำรสหประชำชำติได้เผยแพร่หลักกำรชุดหนึ่งเพื่อชี้ควำมรับผิดชอบของรัฐบำล

               และภำคธุรกิจเพื่อแก้ไขภำวะกลืนไม่เข้ำคำยไม่ออกนี้ แล้วหลักกำรนี้พูดว่ำอย่ำงไร? หลักกำรนี้ ประกอบไป

               ด้วยเสำหลัก 3 ต้น

                           เสำหลักต้นแรก กล่ำว่ำ รัฐ ต้องท ำให้มั่นใจได้ว่ำภำคธุรกิจ ต้องไม่ละเมิดสิทธิมนุษยชนของบุคคล

               ใด นั่นหมำยควำมว่ำ รัฐจะต้องผ่ำนกฎหมำนเพื่อป้องกันไม่ให้เกิดกำรละเมิดสิทธิมนุษยชน และต้องให้มั่นใจ
               ด้วยว่ำกฎหมำยเหล่ำนั้นได้รับกำรปฏิบัติตำม บริษัทข้ำมชำติที่ใหญ่ที่สุดในโลกบำงบริษัทเป็นบริษัทของรัฐหรือ

               ด ำเนินกำรโดยรัฐบำล หลักกำรชี้แนะนี้บอกว่ำ รัฐบำลต้องป้องกันกำรละเมิดสิทธิมนุษยชนโดยภำคธุรกิจแม้รัฐ

               จะเป็นภำคธุรกิจเองก็ตำม

                           เสำหลักที่สองพูดว่ำ ภำคธุรกิจต้องไม่ละเมิดสิทธิมนุษยชน/ ไม่ว่ำที่ไหน และอย่ำงไร ก็ตำม ที่

               บริษัทด ำเนินธุรกิจ นั่นหมำยควำมว่ำเพียงแค่ปฏิบัติตำมกฎหมำยในประเทศที่ตนด ำเนินธุรกิจหรือตรวจสอบ

               บัญชีของซัพพลำยเออร์ของตนบำงบริษัทก็ยังไม่เพียงพอ แม้ในประเทศที่รัฐบำลนั้นไม่ท ำหน้ำที่ของตัวเอง

               น ำเสนอเพื่อพิจำรณำในกำรประชุมคณะอนุกรรมกำรด้ำนสิทธิทำงเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม
               ครั้งที่ 19/2559 วันจันทร์ที่ 4 กรกฎำคม 2559
   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21