Page 13 - สรุปผลการสัมมนา เรื่อง ธุรกิจท่องเที่ยวและการโรงแรมกับการเคารพสิทธิมนุษยชน ตามหลักการชี้แนะของสหประชาชาติ ตามกรอบงานขององค์การสหประชาชาติ ในการคุ้มครอง เคารพ และเยียวยา : วันที่ 17 มิถุนายน 2559 ณ โรงแรมกะตะบีช รีสอร์ทแอนด์ สปา จังหวัดภูเก็ต
P. 13

12



                           - ผู้แทนหน่วยงำนภำครัฐที่เกี่ยวข้องในพื้นที่จังหวัดภูเก็ต พังงำ และกระบี่





               ๖. สรุปการปาฐกถาพิเศษ  เรื่อง “ธุรกิจการท่องเที่ยวและการโรงแรมกับสิทธิมนุษยชน” โดย

               นายวัส ติงสมิตร ประธานกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ


                           นำยวัส ติงสมิตร ประธำนกรรมกำรสิทธิมนุษยชนแห่งชำติ ได้ปำฐกถำพิเศษในหัวข้อ “ธุรกิจกำร

               ท่องเที่ยวและกำรโรงแรมกับสิทธิมนุษยชน” โดยสรุปว่ำ “สิทธิมนุษยชน”(HR)  ในแนวคิดสมัยใหม่ ไม่ใช่สิทธิที่มีมำ
               โดยธรรมชำติของมนุษย์  แต่เกิดจำกกำรกระท ำหรือสร้ำงสรรค์ของมนุษย์ภำยหลังที่เกิดสังคมกำรเมืองที่เรียกว่ำ “รัฐ”

               แล้ว และเห็นว่ำสิทธิมนุษยชน (HR) เป็นเรื่องของอุดมกำรณ์ที่มนุษย์กล่ำวอ้ำงเพื่อให้ได้รับกำรคุ้มครองจำกผู้ปกครอง

               โดยอ้ำงควำมชอบธรรมว่ำเป็นสิ่งจ ำเป็น และไม่หยุดนิ่ง
                           ส ำนักงำนข้ำหลวงใหญ่เพื่อสิทธิมนุษยชนแห่งองค์กำรสหประชำชำติ (UN OHCHR) เห็นว่ำ สิทธิ

               มนุษยชน (HR) เป็นสิทธิที่ติดตัวมนุษย์ทุกคน โดยไม่ค ำนึงถึงสัญชำติ ถิ่นที่อยู่ เพศ ชำติพันธุ์ สีผิว ศำสนำ ภำษำ หรือ

               สถำนะอื่นใด เรำทุกคนได้รับสิทธิมนุษยชน (HR) โดยเท่ำเทียมกัน โดยปรำศจำกกำรเลือกปฏิบัติ สิทธิเหล่ำนี้ล้วน
               แล้วแต่เชื่อมโยงและสัมพันธ์กัน และแบ่งแยกไม่ได้

                           ส่วนสิทธิมนุษยชน (HR) ตำมกฎหมำยไทย หมำยถึง ศักดิ์ศรีควำมเป็นมนุษย์ สิทธิ เสรีภำพ และ

               ควำมเสมอภำคของบุคคลที่ได้รับกำรรับรองหรือคุ้มครองตำมรัฐธรรมนูญไทย กฎหมำยไทย หรือตำม
               สนธิสัญญำที่ไทยมีพันธกรณีที่จะต้องปฏิบัติตำมพระรำชบัญญัติคณะกรรมกำรสิทธิมนุษยชนแห่งชำติ พ.ศ.

               ๒๕๔๒ มำตรำ ๓ วรรคหนึ่ง)

                           เมื่อกล่ำวถึงภำคธุรกิจกับสิทธิมนุษยชน เป็นที่ยอมรับกันมำยำวนำนว่ำกำรท ำธุรกิจนั้นมีผลต่อ
               สิทธิมนุษยชน ทั้งด้ำนบวกและด้ำนลบ ทำงด้ำนบวกนั้นภำคธุรกิจก่อให้เกิดกำรสร้ำงสรรค์นวัตกรรมใหม่ๆ ใน

               สังคมที่ช่วยปรับปรุงพัฒนำคุณภำพชีวิตของผู้คนทั้งหลำยในโลก อำทิ เทคโนโลยีกำรสื่อสำรที่ช่วยเชื่อมโยงโลก

               ใบนี้เข้ำด้วยกัน กำรคิดค้นยำรักษำโรคและเทคโนโลยีกำรแพทย์ที่ช่วยรักษำควำมเจ็บป่วยและช่วยรักษำชีวิต
               หรือแม้กระทั่งเทคโนโลยีกำรเกษตรและอำหำรที่ช่วยขจัดควำมหิวโหย ส่วนในด้ำนลบ ภำคธุรกิจก็อำจ

               ก่อให้เกิดผลกระทบต่อกำรด ำรงชีพของมนุษย์ได้เช่นกัน อำทิ กรณีเกี่ยวกับสิทธิด้ำนแรงงำน กรณีที่บริษัทผลิต

               อำหำรท ำสัญญำกับบริษัทจัดหำงำนที่ใช้แรงงำนจำกกำรค้ำมนุษย์ โดยบังคับให้ส่งหนังสือเดินทำงให้บริษัทเป็น
               ผู้เก็บจนกว่ำจะท ำงำนใช้หนี้สินจนหมด หรือกรณีที่บริษัทอุตสำหกรรมกำรผลิตเลือกปฏิบัติต่อคนงำนที่เข้ำร่วม

               สหภำพแรงงำน ทั้งในเรื่องกำรจ้ำงแรงงำน กำรต่อสัญญำ    กำรเลื่อนต ำแหน่ง หรือเลิกจ้ำงงำนเมื่อคนงำนใช้

               สิทธินัดหยุดงำน หรือกรณีที่บริษัทผลิตเสื้อผ้ำจ้ำงโรงงำนผลิตที่จ่ำยค่ำแรงให้คนงำนต่ ำกว่ำอัตรำค่ำจ้ำงขั้นต่ ำ
               และบังคับให้ท ำงำนมำกกว่ำ ๘๐ ชั่วโมงต่อสัปดำห์ หรือถูกให้ท ำงำนในสภำพแวดล้อมที่เป็นอันตรำยต่อ

               สุขภำพ





               น ำเสนอเพื่อพิจำรณำในกำรประชุมคณะอนุกรรมกำรด้ำนสิทธิทำงเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม
               ครั้งที่ 19/2559 วันจันทร์ที่ 4 กรกฎำคม 2559
   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18