Page 31 - รายงานโครงการศึกษา เรื่อง การจัดทำตัวชี้วัดสิทธิมนุษยชนเบื้องต้นตามปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน
P. 31
19
ความหมายนี้พัฒนามาจากนิยามที่เสนอโดย Paul Hunt ผู้จัดท ารายงานพิเศษว่าด้วยสิทธิใน
การมีมาตรฐานทางด้านสุขภาพขั้นสูงสุดเท่าที่จะมีได้ (Special Rapporteur the Right of everyone to
34
the Highest Attainable Standard of Physical and Mental Health) ซึ่งค านิยามนี้ได้ยอมรับในการ
ด าเนินงานของส านักงานข้าหลวงใหญ่สิทธิมนุษยชนฯ ในการประชุมระหว่างคณะกรรมการประจ าสนธิสัญญา
สิทธิมนุษยชน ซึ่งปรากฏในรายงานเรื่อง Report on Indicators for Monitoring Compliance with
International Human Rights Instruments” (HRI/Mc/2006/7) และโดยคณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคม
(Economic and Social Council) ซึ่งปรากฏในรายงานการประชุมสมัยที่ 2011 เรื่อง “Social and
35
Human Rights Question: Human Rights”
ในการประชุมดังกล่าว คณะกรรมการประจ าสนธิสัญญาสิทธิมนุษยชนที่เข้าร่วมประชุม
ปรึกษาหารือร่วมกันมีความเห็นว่า ตัวชี้วัดทางด้านประชากรและเศรษฐกิจสังคม อาจมีนัยยะส าคัญที่ช่วย
อธิบายหรือน ามาใช้ในการประเมินการปฏิบัติตามพันธกรณีของรัฐได้ ซึ่งจะช่วยในการพิจารณา แม้ว่าตัวชี้วัด
เป็นชุดของข้อมูลที่อาศัยสถิติหรือเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น แต่มีความแตกต่างระหว่างตัวชี้วัดสิทธิมนุษยชนกับ
ข้อมูลสถิติด้านเศรษฐกิจสังคมอยู่หลายประการ แต่สิ่งที่จ าเป็นคือจะต้องก าหนดสาระแห่งสิทธิเพื่อให้
ตอบสนองต่อปทัสถานสิทธิมนุษยชน ซึ่งต่อมาได้มีการสรุปแนวทางร่วมกัน เพื่อก าหนดลักษณะตัวชี้วัดที่
สามารถสะท้อนพันธะหน้าที่ของรัฐ โดยการก าหนดประเภทของตัวชี้วัดสามประเภท คือตัวชี้วัดโครงสร้าง
ตัวชี้วัดกระบวนการ และตัวชี้วัดผล
ตัวชี้วัดสิทธิมนุษยชนมีลักษณะเช่นเดียวกับตัวชี้วัดทางด้านสังคมศาสตร์ ดังนั้น ข้อมูล หรือ
data ที่น ามาใช้ในการประเมิน ก็สามารถใช้ได้ทั้งลักษณะที่เป็นข้อมูลเชิงปริมาณ และข้อมูลเชิงคุณภาพ ดังนั้น
ตัวชี้วัดจึงจ าแนกตามประเภทของข้อมูลได้สองประเภทคือ
ตัวชี้วัดเชิงปริมาณ (Quantitative Indicators) เป็นชุดข้อมูลที่สามารถบอกเป็นตัวเลข
สถิติ จ านวน หรือร้อยละ ได้ เช่น ร้อยละของเด็กที่ออกกลางคันในระดับการศึกษาภาคบังคับ จ านวนค า
ร้องเรียนว่าบุคคลสูญหายโดยการใช้ก าลังบังคับต่อปี เป็นต้น
ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ (Qualitative Indicator) เป็นตัวชี้วัดที่ก าหนดโดยการเขียนบรรยาย
ข้อมูลเกี่ยวกับเหตุการณ์ หรือเหตุการณ์ หรือผลลัพธ์ เป็นข้อมูลที่ไม่ใช่ตัวเลข หรือจ านวน แต่เป็นข้อมูลที่เป็น
การอธิบายความ ความเห็น ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ อาจเกิดจากการสรุปรวมความ หรืออธิบายปรากฏการณ์ โดย
อาศัยข้อมูลจากตัวชี้วัดเชิงคุณภาพได้
ในการก าหนดประเภทของข้อมูลตัวชี้วัดที่ใช้ประเมิน ติดตามพันธะหน้าที่ด้านสิทธิมนุษยชน
36
อาจก าหนดตัวชี้วัด อาจก าหนดเป็นประเภทข้อมูลเชิงปริมาณ หรือเชิงคุณภาพ ก็ได้ ตัวอย่างตัวชี้วัดเชิง
ปริมาณ เช่น
จ านวนสนธิสัญญาสิทธิมนุษยชนที่ประเทศไทยเข้าเป็นภาคี
34
Office of the High Commissioner for Human Rights, (UN. Doc. A/52/422), Section II.
35
Office of the High Commissioner for Human Rights, (UN. Doc. E/2011/a0, 26 April 2011).
36 ibid.