Page 213 - รายงานโครงการศึกษา เรื่อง การจัดทำตัวชี้วัดสิทธิมนุษยชนเบื้องต้นตามปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน
P. 213

ตัวชี้วัดที่ 4.7 การปลอดจากการแทรกแซงโดยไม่ชอบธรรมในการชุมนุมทางการเมือง (UDHR-4.7)

 ตัวชี้วัดโครงสร้าง (A/a)    ตัวชี้วัดกระบวนการ (B/b)    ตัวชี้วัดผลลัพธ์ (C/c)    ค าอธิบาย

 ตัวชี้วัดหลัก (A)    ตัวชี้วัดหลัก (B)    ตัวชี้วัดหลัก (C)    การปลอดจากการแทรกแซงโดยไม่ชอบ

 1. มีการรับรองเสรีภาพในการจัดการ 1. มีการฝึกอบรมเจ้าหน้าที่บังคับใช้ 1. ข้อมูล เหตุการณ์รายงานของ  ธรรมในการชุมนุมทางการเมือง
 ชุมนุม และเข้าร่วมชุมนุมไว้ใน  กฎหมายเพื่อรักษาความสงบ  สื่อมวลชน หรือ  NGOs ที่แสดงถึง

 รัฐธรรมนูญ โดยการจ ากัดเสรีภาพจะ  เรียบร้อย หรือการสลายฝูงชนให้  การข่มขู่ หรือคุกคามต่อผู้จัดการ
 ท าได้จะต้องเป็นไปตามหลักการ  ปฏิบัติตามมาตรฐานระหว่างประเทศ   ชุมนุมทางการเมือง หรือผู้เข้าร่วม
 จ ากัดสิทธิเสรีภาพที่ชอบธรรม    2. มีกลไกที่พิจารณาทบทวนค าสั่ง   การชุมนุม

 2. การเป็นภาคี ICCPR   ประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินที่เป็นการ 2. ข้อมูล เหตุการณ์ การประกาศ

 ตัวชี้วัดรอง (a)    จ ากัดเสรีภาพในการชุมนุมโดยสันติ   สถานการณ์ฉุกเฉิน กฎหมายความ
 (ศาลปกครอง ศาลรัฐธรรมนูญ กสม.   มั่นคง โดยฝุายบริหารที่มีขึ้นโดยมี
 3. มีกฎหมายก าหนดให้การข่มขู่   ผู้ตรวจการแผ่นดิน)    วัตถุประสงค์เพื่อห้ามการชุมนุม
 คุกคามการชุมนุมที่ชอบโดยกฎหมาย

 เป็นความผิดอาญา    ตัวชี้วัดรอง (b)    ตัวชี้วัดรอง (c)
 3. มีการให้ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ 3.  ข้อมูล เหตุการณ์ที่มีการปะทะกัน
 เสรีภาพในการชุมนุมอย่างสันติกับ  ระหว่างกลุ่มผู้ชุมนุมทางการเมือง
 หลักการไม่ใช้ความรุนแรงในการ  ผู้ประท้วงต่างกลุ่ม (“ม๊อบชนม๊อบ”)

 ระงับความขัดแย้งของสังคมใน 4.  ข้อมูล เหตุการณ์ จ านวนคดีที่
 ระบอบประชาธิปไตยให้กับประชาชน   บุคคลถูกคุกคาม ข่มขู่ผู้ที่จัดการ

 4. มีกระบวนการที่ปูองกันไม่ให้มีการ  ชุมนุมทางการเมือง หรือเข้าร่วมการ
 คุกคามปะทะระหว่างกลุ่มผู้ชุมนุมที่มี  ชุมนุม
 ความคิดเห็นต่างกัน (มาตรการ
 ปูองกันไม่ให้เกิด “ม๊อบชนม๊อบ”)                                         155
   208   209   210   211   212   213   214   215   216   217   218