Page 8 - ศัพท์สิทธิมนุษยชนในกระบวนการยุติธรรมและสิทธิมนุษยชนศึกษา
P. 8
คำาแนะนำาในการใช้
หนังสือประมวลศัพท์สิทธิมนุษยชนด้านกระบวนการยุติธรรม
และสิทธิมนุษยชนศึกษา เล่ม 2 ฉบับนี้จัดทำาขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์เพื่ออธิบาย
ศัพท์ในการใช้ปฏิบัติงานด้านสิทธิมนุษยชน ศัพท์บางคำาอาจมีหลายความหมาย
ตามแต่บริบทที่ใช้ หนังสือเล่มนี้ได้หยิบยกเฉพาะในบริบทของสิทธิมนุษยชน
มาพิจารณาเท่านั้น
หลักในการจัดทำา มีดังนี้
1. การบัญญัติศัพท์ผู้จัดทำาได้พยายามรักษาความหมาย
จากภาษาเดิมไว้มากที่สุดและได้อธิบายความหมายประกอบ
เพิ่มเติมพอสังเขป เพื่อให้สามารถเข้าใจได้ง่าย
2. คำาที่มาจากภาษาต่างประเทศอื่นจะใช้ตัวเอนในคำานั้น
พร้อมทั้งบอกที่มาของภาษานั้น และแม้ว่าภาษาเดิมจะไม่ใช้
ตัวอักษรพิมพ์ใหญ่ แต่เพื่อประโยชน์ในการจัดทำาผู้จัดทำาใช้
คำาตั้งเป็นอักษรตัวพิมพ์ใหญ่ทั้งหมด เช่น LEX LATA (Latin)
หมายความว่าคำานั้นมาจากภาษาละติน
3. ถ้ามีคำาที่มีความหมายใกล้เคียงหรือเชื่อมโยงก็จะแสดง
ความเชื่อมโยงคำานั้นโดยระบุไว้ที่ส่วนท้ายของคำา
4. การอ้างปี พ.ศ. และปี ค.ศ. ผู้จัดทำาถือเอาความสำาคัญของ
เหตุการณ์ที่เกี่ยวข้องกับประเทศไทยเป็นสำาคัญ ถ้าเหตุการณ์
นั้นเกี่ยวข้องกับประเทศไทย จะใช้ปี พ.ศ. ขึ้นก่อนแล้วตามด้วย
ปี ค.ศ. ในวงเล็บ แต่ถ้าเหตุการณ์นั้นไม่สำาคัญต่อประเทศไทย
จะใช้ปี ค.ศ. ขึ้นก่อนแล้วตามด้วยปี พ.ศ. ในวงเล็บ
ในการทำางานด้านสิทธิมนุษยชนมีการใช้คำาย่ออย่างแพร่หลาย ดังนั้น
หนังสือเล่มนี้จึงได้รวบรวมคำาย่อสำาคัญไว้เพื่อประโยชน์ในการใช้งานด้วย
vii