Page 47 - เสียงจากประชาชน การต่อสู้เพื่อสิทธิในที่ดิน กรณีร้องเรียน 2545-2550. เล่ม 4 : "ที่ดินในเขตป่าและสิทธิชุมชนในการจัดการที่ดินและป่า"
P. 47

ลำดับที่   คำรองที่ / สถานที่                   ความเปนมา


                ๓     คำรองที่ ๔๓๔/๒๕๔๙  ประชาชนรองเรียนวาสำนักนายกรัฐมนตรี มีโครงการที่จะกอสราง
                                          อนุสรณสถานรำลึกสึนามิ บริเวณบนเขา ตรงที่ตั้งศาลพอตาเขาหลัก
                      กรณีคัดคานการใช   (เดิม) ซึ่งนาจะอยูระหวางรอยตอ อ.ทายเหมือง และ อ.ตะกั่วปา
                      ที่ดินในพื้นที่อุทยาน  จ.พังงา โดยบริเวณดังกลาวอยูในเขตพื้นที่อุทยานแหงชาติเขาหลัก
                      แหงชาติเขาหลักลำลู   ลำลู และพื้นที่ดังกลาวมีตนไมใหญจำนวนมาก ประกอบกับทั้งมี
                      กอสรางอนุสรณสถาน   ทัศนียภาพที่สวยงามควรแกการอนุรักษไวเปนมรดกแกประเทศชาติ
                      รำลึกสึนามิ         ถาหากมีการกอสรางอนุสรณฯ ก็ตองตัดตนไมเปนจำนวนมาก ซึ่ง
                      จ. พังงา
                                          เปนการทำลายทรัพยากรทางธรรมชาติโดยไมมีความจำเปน ผูรอง
                                          เห็นวาควรใชพื้นที่สาธารณะริมทะเล เนื้อที่ประมาณ ๔๕ ไร บริเวณ
                                          บานหลาโอน หมู ๖ ต.คึกคัก อ.ตะกั่วปา จ.พังงา เปนสถานที่กอ

                                          สรางอนุสรณฯ  เนื่องจากพื้นที่ดังกลาวเปนพื้นที่วางเปลาไมใช
                                          ประโยชนอะไร จึงเปนสถานที่ที่เหมาะแกการกอสรางนอกจากนี้ยัง
                                          ไมตองทำลายธรรมชาติที่สวยงามอีกดวย



                ๔     คำรองที่ ๓๖๓/๒๕๕๑  กลุมอนุรักษคลองยัน รองเรียนวา โครงการกอสรางทางหลวงเชื่อม

                      รายงานตรวจสอบที่    โยงอำเภอกะเปอร-อำเภอไชยา ตอนตำบลบานนา-บานเขาหลัก
                      ๓๖๓/๒๕๕๑            ผานเขตอุทยานแหงชาติแกงกรุงและเขตรักษาพันธุสัตวปาคลองยัน
                      กรณีโครงการกอสราง   อันเปนเขตตนน้ำของแมน้ำตาป จะทำลายระบบนิเวศของปาใน
                      ทางหลวงผานอุทยาน   บริเวณดังกลาวอยางรุนแรง นอกจากนั้น เพียงแคการสำรวจของ
                      แหงชาติแกงกรุง    กรมทางหลวงระหวางป ๒๕๔๘ กอใหเกิดกระแสการบุกรุกถางปา
                      เชื่อมโยง อ.กะเปอร   หลายพื้นที่

                      จ.ระนอง-อ.ไชยา
                      จ.สุราษฎรธานี


                ๕     คำรองที่ ๒๗๖/๒๕๔๘  ผูรองรองเรียนวา ในป ๒๕๓๒ กรมปาไมดำเนินการสำรวจปาแกง
                                          กรุง เพื่อประกาศเปนอุทยานแหงชาติแกงกรุง ซึ่งแนวเขตอุทยาน

                      กรณีกลุมอนุรักษปา   บางสวนซอนทับที่ดินทำกินของราษฎร เจาหนาที่อุทยานจึงมีปญหา
                      รองเรียนอุทยาน     กระทบกระทั่งกับชาวบาน  ในป  ๒๕๔๔  ผูวาราชการจังหวัด
                      แหงชาติแกงกรุงถูก  สุราษฎรธานีจึงไดจัดเวที ๔ ฝายเพื่อแกไขปญหาดังกลาว ตอมา
                      บุกรุก              ชาวบานและตัวแทนไดยื่นขอเสนอตอนายกรัฐมนตรีและไดขอยุติ
                      จ. สุราษฎรธานี
                                          รับรองโดยมติคณะรัฐมนตรี วันที่ ๓ เม.ย. ๒๕๔๔ ใหจัดทำแนวเขต
                                          อุทยานแหงชาติ สวนที่ทับซอนกับที่ดินทำกินของราษฎร




                    เสียงจากประชาชน
            46      การตอสูเพื่อสิทธิในที่ดิน กรณีรองเรียน ๒๕๔๕-๒๕๕๐
   42   43   44   45   46   47   48   49   50   51   52